Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผุู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาท
การพยาบาลผุู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาท
การประเมินทางระบบประสาท
การซักประวัติ
การประเมินจากการตรวจร่างกายทางระบบประสาท
การประเมินเกี่ยวกับการรู้สติ หมายถึง การประเมินเพื่อดุระดับการรู้สติ
1.Ful consciousness รู้สึกตัวดี
2.confusion รู้สึกสับสน
3.Disorientation การรับรู้ผิดปกติ
4.Drowsiness ผู้ป่วยรับตาแต่เมื่อเรียกชื่อสามารถตื่นลืมตา
5.Stupor ผู้ป่วยหลับตาลึกแต่ยังตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่รุนแรง
การประเมินการเคลื่อนไหว
เกรด 0 กล้ามเนื้ออัมพาต
เกรด1 กล้ามเนื้อไม่มีแรง
เกรด 2 กล้ามเนื้อมีแรงที่จะเคลื่อนไหวข้อตามแรง เกรด 3แขนและขาสามารถยกได้แต่ต้านแรงกดไม่ได้
เกรด 4 แขนขายกได้ ต้านแรงได้เล็กน้อย
เกรด 5 แขนขากำลังดี
การตรวจอาการของการระายเยื่อหุ้มสมอง
คอแข็ง stiff neck
Brudzinki's sign
kernig sign
การวัดระดับความรู้สึกตัว (GCS)
1.การลืมตา 2.การสื่อภาษาที่ดีที่สุด
การเคลื่อนไหวที่ดีที่สุด
การตรวจพิเศษ
การถ่ายภาพรังสีกะโหลกศีรษะ
CT scan
MRI
การเจาะหลัง
การบาดเจ็บศีรษะ Heart injury
การบาดเจ็บโดยตรง
1.การบาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะอยู่นิ่ง
2.บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะเคลื่อนที่
การบาดเจ็บโดยอ้อม คือ การบาดเจ็บที่เกิดขึ้นกับส่วนอื่นของร่างกายแล้วมีผลสะท้อนทำให้เกิดบาดเจ็บที่ศีรษะ
พยาธิสภาพ
บาดเจ็บศีรษะระยะแรก 1.หนังศีรษะ 2.กะโหลกศีรษะ 3.เนื้อสมองซ้ำ
บาดเจ็บที่ศีรษระยะที่สอง
1.epidural hematoma EDH
2.subdural hematoma SDH
3.subdurachnoid hematoma SAH 4.intracerebral hematoma ICH
วิธีการรักษา
การผ่าตัด 1. craniotomy 2.osteoplastic flap 3. free bone flap 4.craniectomy 5.cranioplasty
การใช้ยา
Hydrocephalus หมายถึง การมีน้ำของสมองและไขสันหลัง CSF ถูกสะสมภายในกะโหลกศีรษะในปริมาณที่มากเกินไป ทำให้สมองบวม
พยาธิ น้ำหล่อสมองและไขสันหลังส่วนใหญ่สร้างจาก choroid plexus มีส่วนประกอบคล้ายพลาสม่าต่างกันที่โปรตีนและเกลือแร่ต่ำกว่า สร้างประมารวันละ500 cc
การรักษา 1. การรักษาด้วยยา 2.การรักษาด้วยการผ่าตัด
โรคแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
1.การทำงานผิดปกติของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
2.การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
3.การอุดตันสายระบายน้ำในโพรงสมอง
4.ภาวะระบายน้ำในโพรงสมองมากเกินไป
5.ภาวะโพรงสมองตีบแคบ
6.ภาวะเลือดออกในศีรษะ
7.ไตอักเสบ
ภาวะความดันโนกะโหลกศีรษะสูง icrease intracranial pressure IICP
สาเหตุ
1.มีการเพิ่มขนาดของสมองจาก 1.1 มีสิ่งกินที่สมอง
1.2 สมองบวม
2.การเพิ่มของเลือดที่ไปเลี้ยงสมองมากขึ้น 2.1 เลือดดำไหลกลับไม่สะดวก 2.2เล้นเลือดแดงในสมองขยาย
2.3 ได้รับยาขยายหลอดเลือดสมอง
3.การเพิ่มของน้ำไขสันหลัง 3.1มีการผลิตมากขึ้นจากมีเนื้องอกของchoroid plexus 3.2มีความผิดปกติของการดูดซึม 3.3 มีการอุดตันของทางเดินน้ำไขสันหลัง
กลไก Autoregulation เป้นกลไกควบคุมอัตโนมัติที่สมองใช้เพื่อควบคุมให้มีเลือดไหลเวียนไปเลี้ยงสมองอย่างเพียงพอ
1.Pressure autoregulation mechanism
2.Metabolic Autoregulation
1.ระยะที่มีการชดเชยโดยกลไกการควบคุมอัตโนมัติ
2.ระยะที่มีการชดเชยโดยคูชิงรีเฟลกซ์
3.ระยะท้ายของการชดเชยโดย Cushing reflex
4.ระยะสูญเสียกลไกการชดเชยโดยสิ้นเชิงเป็นระยะต่อเนื่องจากระบะที่ 3
อาการIICP
สับสน ง่วงซึม กระสับกระส่าย มีความลำบากในการรับรู้ที่ผิด ปวดศีรษะ อาเจียน การอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
ภาวะสมองเคลื่อน
1.มีการเคลื่อนของสมองใหญ่ซีกหนึ่งไปยังซีกตรงข้ามที่มีแรงดันน้อยกว่า
2.Central herniation
3.Uncal herniation
4.บริเวณช่องใต้กะโหลก
อาการ
อัตราการหายใจช้าลง ชีพจรเต้นช้าลง อุณหภูมิสูง ปวดศีรษะ อาเจียน ชัก
การรักษา
การรักษาด้วยยา
การผ่าตัด
การดูแลผู้ป่วยIICP
1.ประเมินอาการทางระบบประสาท
2.การดูแลทางเดินหายใจ
3.กาจัดท่า จัดท่าศีรษะสูง 30 องศา
4.การป้องกันการเกิด valsava maneuver
5.หลีกเลี่ยงการผูกยึดผู้ป่วย
6.ลดอุณห๓ูมิกาย
7.ลดสิ่งกระตุ้นรที่ไม่จำเป็น
8.ดูแลความสมดุลของสารน้ำ
9.ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา
10.การดูแลเมื่อใส่เครื่องวัดความดันกพโหลกศีรษะ