Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาท (ภาวะความดันในกะโหลกศีร ษะสูง IICP…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาท
การประเมินทางระบบประสาท
1.การซักประวัติ
-ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติหรือพบบ่อย เช่น ปวดศีรษะ ตามัว อาเจียน กล้ามเนื้ออ่อนแรง ชักซึม
-ประวัติเกี่ยวกับพฤติกรรมและบุคลิกภาพที่เปลี่ยนแปลงไป
-ซักถามข้อมูลจากผู้ป่วยโดยตรงแต่ในบางครั้งผู้ป่วยอาจสูญเสียความจำหรือขาดความสามมารถในการติดต่อสื่อสารหรืออาจอยู่ในภาวะหมดสติจึงต้องซักถามจากญาติ
-ประวัติการเจ็บป่วยอื่นๆเกี่ยวข้องกับระบบประสาทเกี่ยวกับการวางแผนการดำเนินชีวิต
2.การประเมินจาการตรวจร่างกายทางระบบประสาท
การประเมินทางระบบประสาทแบบเร็วที่สามารถประเมินการเปลี่ยนแปลงการทำงานของระบบประสาทเบื้องต้นเป็นพื้นฐาน ดังนี้ ระดับความรู้สึกตัวประสาทสมอง การเคลื่อนไหว การรับความรู้สึก
3.การวัดส่วนที่มีพยาธิสภาพของสมอง ได้แก่ ลักษณะของรูม่านตา การเคลื่อนไหวและกำลังของแขนขา
4.การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวนิจฉัย
กลไกการบาดเจ็บที่ศีรษะ
1.การบาดเจ็บโดยตรง
บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะอยู่นิ่ง
บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะเคลื่อนที่
2.การบาดเจ็บโดยอ้อม
พยาธิสภาพของการบาดเจ็บที่ศีรษะ
1.1หนังศีรษะ เช่น บวม ช้ำ หรือโน ฉีกาด ถลอก
1.2กะโหลกศีรษะ บริเวณนี้มีความบอบบางที่สุดคือบริเวณกระดูกด้านข้างและมีผิวที่ขรุขระทั้งด้านในและนอกซึ่งทำให้เกิดการบาดเจ็บต่อสมองส่วนข้างใต้ได้บ่อย
กะโหลกแตกร้าวเป็นแนว
กะโหลกแตกร้าวบริเวณฐาน
กะโหลกแตกยุบ
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะที่สอง (secondary head injury)
1.Intracranial hematoma 1.1) epidural hematoma-EDH 1.2) sundial 1.3) Subarachnoid gemstone 1.4)intracerebral hematoma-ICH
2.สมองบวม(cerebral edema) 1.Vasogenic edema 2.Cytoxic edema
Hydrocephalus
การแบ่งชนิด
1.แบงตามการอุดตันทางเดินนําหลอสมองไขสันหลัง
1.1) Non communicating 1.2)Communicating hydrocephalus
2.แบ่งตามพยาธิสรีรวิทยากลไลการเกิด
2.2)การสรางนําในโพรงสมองมากเกิน 2.3)การอุดตันทางเดินนําหลอสมองและไขสันหลัง 2.4)การดูดซึมนําหลอสมองและไขสันหลัง
การรักษา
1.การรักษาดวยยา ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide ลดการสร้างนําหลอสมองและไขสันหลัง 25-50%
2.การรักษาด้วยการผ่าตัด
-ผ่าตัดใสสายระบายนําในโพรงสมองออกนอกร่างงกาย เชน EVD , Ventriculostomy
-ผ่าตัดใส่สายระบายนําในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย เช่น ช่องทอง ช่องหัวใจ ช่องปอด
ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
1.การทํางานผิดปกติของสายระบายนําในโพรงสมอง (Shunt malfunction)
2.การติดเชื้อของสายระบายนําในโพรงสมอง (Shunt infection)
3.การอุดตันสายระบายนําในโพรงสมอง (Shunt obstruction)
4.ภาวะระบายนําในโพรงสมองมากเกิน (Overdrainage)
5.ภาวะสมองตีบแคบ(Slit ventricle)
6.ภาวะเลือดออกในสมอง
7.ไตอักเสบ(Shunt nephritis)
การรักษา
การรักษาด้วยยา
1.2 Glucocorticoids
1.3 Anticonvulsant ยากันชัก เชน Phenytomnin(dilantin)
1.1 กลุม osmotic diuretics เชน mannital 20% และ 25%
1.4 Nonosmotic diuretic
การผ่าตัด
2.1 ลดความดันภายนอกโดยการทํา Decompressive Craniectomy
2.2 ลดความดันภายในโดยการทํา Ventricular drainage
ภาวะสมองเคลื่อน
1.มีการเคลื่อนของสมองใหญซีกหนึ่งไปยังซีกตรงข้ามที่มีแรงดันน้อยกว่า 2.Central herniation
3.Uncal herniation
4.บริเวณช่องใต้กะโหลก กดmedulla เกิดการหยุดหายใจ
อาการ
อาเจียนหรือสะอึก
ปวดศีรษะ
การชัก
สัญญาณชีพเปลี่ยนแปลง
การอ่อนแรงและการมีอัมพาตของกล้ามเนื้อ
ขั้วประสาทตาบวม
ภาวะความดันในกะโหลกศีร ษะสูง IICP
สาเหตุ
3.การเพิ่มของนําไขสันหลัง
2.การเพิ่มของเลือดที่ไปเลี้ยงสมองมากขึ้น เชน เลือดดําไหลกลับไมสะดวก เสนเลือดแดงในสมองขยาย ไดรับยาขยายหลอดเลือด
1.มีการเพิ่มขนาดของสมองจาก 1.1)มีสิ่งกินที่ในสมอง เชน กอนเลือด ฝี เนื้องอก 1.2)สมองบวม
กลไกการปรับชดเชย
3.ลดปริมาณเลือดในสมอง
2 . dura ยืดขยายออก และเนื้อสมองก็มีลักษณะอ่อนหยุน
สร้าง CHF ลดลง ดูดซึม CHF กลับมากขึ้น
IICP
โดยในผูใหญคาความดันในกะโหลกศีรษะสูงมากกวา 15 mmHg (หรือ 10-20 cm H2O; 1 mmHg = 1.36 cmH2O
ปกติคาความดันในกะโหลกศีรษะผูใหญมีคาอยูระหวาง 5-15 mmHg
อาการ
2.เกิดจากการสูญเสียหนาที่ของสมองเฉพาะที่
2.1)ผิดปกติในการพูด
2.2)การชัก
2.3) การออนแรงของกลามเนื้อ
3.เกิดจากการเลื่อนของสมอง 3.1)Early finding กระสับกระสาย 3.2) Late finding V/Sเปลี่ยนแปลง
1.อาการและอาการแสดงที่เกิดจาก IICP ทั่วไป 1.1)เมื่อความดันในกะโหลกสูงถึงไดแอสโตลิค หลอดเลือดฝอยในสมองจะถูกกด ทําใหสมองขาดO2 1.2) มีการเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ หายใจชาลง , คาsystolic มากวา diastolic Pกวาง , BT 39-40 C , ปวดศีรษะ อาเจียนและสะอึก
กลไก Autoregulation
1.Pressure autoregulation mechanism เชน ถ้า IICP สูง arterioles ของสมองจะหดตัว ทําใหเลือดไหลไปสมองไดลดลง
2.Metabolic autoregulation ไขสูง ชักเกร็ง Hypoxia
cerebral circulation
2.ระยะที่มีการชดเชยโดย Cushing's reflex เริ่มสูญเสียกลไกการควบคุมอัตโนมัติของสมอง ความดันในกะโหลกศีรษะสูงมากขึน
GCS drop >2 คะแนน
หัวใจเต้นชาลง <60 ครั้ง/นาที
RR ชาลึก ไมสมําเสมอ <12 ครั้ง/นาที
P กวาง>40 mmHg
ความดัน systolic สูง>140 mmHg
3.ระยะทายของการชดเชยโดย Cushing's reflex ICPสูง ศูนย์ควบคุมการหดขยายของหลอดเลือดสมองเป็นอัมพาต
1.ระยะที่มีการชดเชยโดยกลไลการควบคุมอัตโนมัต เริ่มมีสิ่งกินที่ในกะโหลกศีรษะ
4.ระยะสูญเสียกลไกการชดเชยโดยสิ้นเชิง มีอาการ รูมานตาขยายสองขาง แขนขาออนปวกเปียก ไมตอบสนองตอสิ่งกระตุน BPตํา BT>40 องศา เสียชีวิต