Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาท (Hydrocephalus (การพยาบาลหลังผ่าตั…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาท
การประเมินทางระบบประสาท
1.การซักประวัติ
ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติที่พบบ่อย เช่น อาการปวดศีรษะ ตามัว อาเจียน เป็นต้น
ประวัติเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการคิดรู้และการรู้สติ
ในการประเมินควรซักถามข้อมูลจากผู้ป่วยโดยตรงหรือซักถามจากญาติ
2.การประเมินจากการตรวจร่างกายทางระบบประสาท
ระดับการรู้สึกตัว (Level of conslousness)
การประเมินประสาทสมอง12คู่ (Cranial nerve function)
ประเมินการเคลื่อนไหวและกำลังแขนขา
การรตรวจการทำงานของการรับความรู้สึก (Sensory Function)
ก
ารประเมินสภาพผู้ป่วยทางระบบประสาท
จะต้องประเมินจากหลายด้านรวมกัน
1.การวัดระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย(Coma scale)
Glasgow coma Scale
2.การวัดสัญญาณชีพ(vital signs)
เพื่อสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ
3.การวัดส่วนที่มีพยาธิสภาพของสมอง
(focal neurological signs)
จะช่วยในการวินิจฉัยประเมินระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บ
4.การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย
(Neurodiagnostic Studies)
1.การถ่ายภาพรังสีกะโหลกศีรษะและกระดูกสันหลัง
(Skull and spine radiographic)
2.การถ่ายภาพสมองด้วยคอมพิวเตอร์(Computer Tomography :CT)
3.การถ่ายภาพโดยใช้คลื่นเสียง(Magnetic Resonance Imaging :MRI)
4.การเจาะหลัง(Lumbar puncture)
5.การตรวจคลื่นสมอง(Electroencephalogram :EEG)
6.การฉีดสารทึบแสงเข้าเส้นเลือดสมอง (Cerebral angiography)
7.การวัดความดันกะโหลกศีรษะอย่างต่อเนื่อง
(Continuous Intracranial Monitoring)
ปัญหาที่พบบ่อยของผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบประสาท
ภาวะความรู้สึกตัวลดลง
(alteration of consciousness)
เป็นความผิดปกติของระดับความรู้สึกตัวที่ทำให้ความตื่นตัวลดลง
สาเหตุ
1.กลุ่มที่เกิดจากมีรอยโรคในศีรษะ
ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะตรวจร่างกายทางระบบประสาทพบความผิดปกติ
2.กลุ่มที่ไม่ได้มีรอยโรคในศีรษะ
คือผู้ป่วยกลุ่มนี้จะตรวจร่างกายทางระบบประสาทปกติ
การบาดเจ็บที่ศีรษะ(Head injury)
หมายถึงการบาดเจ็บใดๆที่มีต่อหนังศีรษะ กะโหลกศีรษะและเนื้อเยื่อที่เป็นส่วนประกอบภายในกะโหลกศีรษะ ซึ่งอาจทำให้มีหรือไม่มีการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัว
แบ่งออกเป็น2แบบ
1.การบาดเจ็บโดยตรง(direct injury)
การบาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะอยู่นิ่ง เช่นการถูกยิง ถูกตี
บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะเคลื่อนที่ เ่นขับรถไปนต้นไม้
2.การบาดเจ็บโดยอ้อม(indirect injury)เช่นการตกจากที่สูง
indirect injury
มี2ระยะ
1.การบาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรก(primary head injury
)
1.1หนังศีรษะ(acelp)ได้รับบาดแผล เช่น บวมช้ำหรือใน(contusion),ถลอก(abrasion),ฉีกขาด(laceration)
1.2กะโหลกศีรษะ(skull)
กะโหลกแตกร้าวเป็นแนว(linear skull fracture)
กะโลหแตกร้าวบริเวณฐาน(basilar skull fracture)
กะโหลกแตกยุบ(depressed skull fracture)
1.3เนื้อสมองช้ำ(brain contusion)เป็นภาวะเลือดแทรกอยู่ระหว่างเซลล์สมองใต้เยื่อเพีย(subpial space)
2.การบาดเจ็บที่ศีรษะระยะที่สอง(secondary head injury)
1.intracranial hematoma
1.1epidural hematoma:EDH เกิดจากแรงกระแทกที่ทำให้กะโหลกศีรษะเปลี่ยนรูป
1.2subdural hematoma :SDH เกิดจากการมีเลือดออกบริเวณระหว่างdura metter และเยื่อarachinoid matterหรือsubdura space
1.3 subarachnoid hemorrhage :SAH เป็นการมีเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มสมอง
1.4intracerebral hematoma :ICHมักเกิดร่วมกับการช้ำของสมองส่วนผิว
สมองบวม(Cerebral edema)
1.Vasogenic edema เกิดจากการมีการทำลายการทำหน้าที่ตามปกติของ blood brain barrier
2.cytotoxic edema เกิดจากการเสียหน้าที่ในการขับโซเดียมออกนอกเซลล์จึงทำให้มีโซเดียมและน้ำสูงภายในเซลล์
การผ่าตัดสมอง
1.craniotomy คือการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะแล้วปิดกะโหลก
2.craniectomy คือการผ่าตัดเปิดกะโหลกแล้วไม่ปิด
3.cranioplasty คือการผ่าตัดปิดกะโหลกศีรษะในภายหลัง
Hydrocephalus
หมายถึงการมีน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง(CSF)ถูกสะสมภายในกะโหลกศีรษะในปริมาณที่มากเกิน เป็นเหตุนำไปสู่การเกิดสมองบวม
การแบ่งชนิด
1.แบ่งตามการอุดตันทางเดินน้ำหล่อเลี้ยงสมองไขสันหลัง
2.การแบ่งตามพยาธิสรีรวิทยากลไกการเกิด
ความผิดปกติที่ก่อให้เกิดภาวะคั่งในโพรงสมอง
1.การสร้างมากเกิน
2.การอุดตันทางเดินน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
3.การดูดซึมผิดปกติ
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide
2.การรักษาด้วยการผ่าตัด
1.การผ่าตัดใส่ท่อระบายน้ำโพรงสมองออกนอกร่างกาย
2.การผ่าตัดใส่ระบายน้ำโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
การพยาบาลก่อนผ่าตัดสมอง
1.เตรียมทางด้านจิตใจ
2.เตรียมทางด้านร่างกายก่อนผ่าตัด
3.เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อรับผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
การพยาบาลหลังผ่าตัดสมอง
1.ดูแลระบบทางเดินหายใจ
2.กิจกรรมการพยาบาลในการป้องกันภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
3.กิจกรรมการพยาบาลในการช่วยให้ผู้ป่วยสุขสบายและบรรเทาอาการปวดแผลผ่าตัด
4.กิจกรรมพยาบาลในการป้องกันการติดเชื้อในระบบต่างๆ
ภาวะความดันกะโหลกศีรษะสูง (increase intracranial pressure :IICP)
สาเหุตุ
1.มีการเพิ่มขนาดของสมองจาก มีสิ่งกินที่ในสมอง ,สมองบวม
2.การเพิ่มของเลือดที่ไปเลี้ยงสมองมากขึ้น เช่นเลือดดำไหลกลับไม่สะดวก ,เส้นเลือดแดงในสมองขยาย,ได้รับยาขยายหลอดเลือดสมอง
3.การเพิ่มของน้ำไขสันหลัง
อาการและอาการแสดง
1.อาการและอาการแสดงที่เกิดจาก IICP ทั่วๆไป
มีการเปลี่ยนแปลง LOC เมื่อความดันกในโพรงกะโหลกศีรษะสูงถึงความดันไดแอสโตลิคหลอดเลือดฝอยในสมองและถูกกดทำให้สมองขาดออกซิเจนเซลล์สมองไวต่อการขาดออกซิเจน
มีการเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ
2.อาการและอาการแสดงที่เกิดจากการสูญเสียหน้าที่ของสมองเฉพาะที่
ผิดปกติในการพูด,การชัก,การอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
3.อาการและอาการแสดงที่เกิดจากการเลื่อนของสมอง
สมองเคลื่อน(cerebral herniation)
เป็นภาวะที่เนื้อสมองเคลื่อนสู่บริเวณอื่นที่ไม่ใช่ตำแหน่งที่ตั้งตามปกติ
อาการและอาการแสดง
การเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ , อาการปวดศีรษะ,อาเจียนหรือสะอึก,การชัก,การอ่อนแรงและมีการอัมพาตของกล้ามเนื้อ ,ขั้วประสาทตาบวม
การรักษาคือ1.การรักษาด้วยยา 2.การผ่าตัด เพื่อลดสิงที่เบีบดสมอง