Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาท (การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความดันภายใน…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาท
การประเมินทางระบบประสาท
1. การซักประวัติ
ประวัติที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการคิดรู้
และการรู้สติ
ซักถามข้อมูลจากผู้ป่วย
โดยตรง หรืออาจอยู่ในภาวะหมดสติ
จึงต้องซักถามจากญาติ
ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติที่พบบ่อย
เช่น
อาการปวดศีรษะ ตามัว อาเจียน อาการของการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ อาการชัก อาการซึมลง ความผิดปกติในการพูด เช่น พูดล าบาก พูดตะกุกตะกัก
พูดไม่ชัด
ควรครอบคลุมถึงความถี่ ช่วงเวลาในการ
เกิดอาการ ปัจจัยส่งเสริม และการจัดการกับอาการ
ประวัติเกี่ยวกับพฤติกรรม และบุคลิกภาพที่เปลี่ยนแปลงไป
เช่น อาการหลงลืม สติปัญญา
ประวัติเกี่ยวกับการเจ็บป่วยอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาทซึ่งมีผลต่อกระบวนการคิด และระดับความรู้สึก ทั้งทางตรงและทางอ้อม
เช่น โรคเนื้องอกในสมอง
ประวัติเกี่ยวกับแบบแผนการด าเนินชีวิต พฤติกรรมบางอย่างส่งผลต่อภาวะความเจ็บป่วยได้
เช่น การใช้สารเสพติดต่างๆ
2. การประเมินจากการตรวจร่างกายทางระบบประสาท
ระดับการรู้สึกตัว
ประสาทสมอง การเคลื่อนไหว การรับความรู้สึก การประเมินเกี่ยวกับการรู้สติ (Level of Consiousness)
ระดับความรู้สึกตัว
(Level of Consiousness)
1. Full consciousness
รู้สึกตัวดี มีการรับรู้ปกติ
2. Confusion
รู้สึกสับสน
3. Disorientation
ผู้ป่วยไม่รับรู้ต่อเวลา บุคคล และสถานที่ ระดับความรู้สึกตัวเริ่มลดลง
4. Drowsiness
มีอาการง่วง แต่เมื่อเรียกชื่อสามารถตื่นลืมตา สนทนาได้ไม่ซับซ้อน
6. Coma
ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
6.1 Semi coma
ผู้ป่วยสามารถ
ตอบสนองต่อการกระตุ้นแบบ deep pain
6.2 Coma
ผู้ป่วยไม่มีการตอบสนองต่อ
การกระตุ้นเลย
5. Stupor
ผู้ป่วยหลับลึกกระตุ้นซ้ าๆ
การประเมินการเคลื่อนไหวและกำลังของแขนขา
•เกรด/ระดับ 0 = กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต/แขนหรือขาไม่มีการเคลื่อนไหวเลย
•เกรด/ระดับ 1 = กล้ามเนื้อไม่มีแรงหดตัวแต่ใยกล้ามเนื้อหดตัวได้/มีการ
เคลื่อนไหวปลายนิ้วมือ-เท้าได้เล็กน้อย
•เกรด/ระดับ 2 = กล้ามเนื้อมีแรงที่จะเคลื่อนไหวข้อตามแรงโน้มถ่วงได้
•เกรด/ระดับ 3 = แขนหรือขาสามารถยกได้ แต่ต้านแรงที่กดไว้ไม่ได้
•เกรด/ระดับ 4 = แขนหรือขาสามารถยกได้ แต่ต้านแรงที่กดได้น้อยกว่าปกติ
•เกรด/ระดับ 5 = แขนหรือขามีก าลังปกต
การตรวจการทำงานของการรับความรู้สึก ( Sensory Function)
4+ มีปฏิกิริยาอย่างมาก (Hyperactive)
3+ มีปฏิกิริยามากกว่าปกติ
2+ ปกติ
1+ มีปฏิกิริยาน้อยกว่าปกติ
0 ไม่มีปฏิกิริยา
การตรวจอาการของการระคายเยื่อหุ้มสมอง (Signs of meningeal
irritation)
1. คอแข็ง (Stiff neck )
2. Brudzinki’s sign
จะให้ผลบวกเมื่องอศีรษะและคอให้คางชิดอกแล้วมีการตอบสนองโดยการงอต้นขาและขาทั้งสองข้าง
3. Kernig sign
มีอาการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ hamstrings แสดงว่า
Kernig sign ให้ผลบวก
ประเมินทางระบบประสาท
1. การวัดระดับความรู้สึกตัว (coma scale)
กลาสโกว์โคม่า สเกล (Glasgow Coma Scale)
การลืมตา (eye opening) : E4 การสื่อภาษาที่ดีที่สุด (best verbal response) : V5 การเคลื่อนไหวที่ดีที่สุด (best motor response) : M6
Mild or minor head injury
13-15 คะแนน
Moderate head injury
9-12 คะแนน
Severe head injury
<8 คะแนน
2. การวัดสัญญาณชีพ (Vital signs)
เพราะสมองบางส่วนเป็นศูนย์กลางในการควบคุมการหายใจ การไหลเวียนและความดันโลหิต รวมทั้งอุณหภูมิของร่างกาย
3. การวัดส่วนที่มีพยาธิสภาพของสมอง (focal neurological signs)
ลักษณะของรูม่านตา (pupils) การเคลื่อนไหวและก าลังของแขนขา (movement of
the limbs and motor power)
4. การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย
การบาดเจ็บที่ศีรษะ (Head injury : HI) หรือสมองได้รับบาดเจ็บ(Traumatic Brain Injury : TBI)
1. การบาดเจ็บโดยตรง ( direct injury )
1.1 บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะอยู่นิ่ง ( static head injury )พยาธิสภาพที่เกิดขึ้นจะเป็นพยาธิสภาพเฉพาะที่เท่านั้น 1.2 บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะเคลื่อนที่ (dynamic head injury)ขับรถไปชนต้นไม้ ขับรถไปชนกับรถที่วิ่งสวนทาง
2. การบาดเจ็บโดยอ้อม ( indirect injury )
ตกจากที่สูงก้นกระแทกพื้น
พยาธิสรีรภาพของการบาดเจ็บที่ศีรษะ
1. บาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรก ( primary head injury )
1.1 หนังศีรษะ ( scalp )
บวม ช้ า หรือโน ( contusion ) ถลอก ( abrasion ) ฉีกขาด ( laceration )
1.2 กะโหลกศีรษะ ( skull )
กะโหลกแตกร้าวเป็นแนว ( linear skull fracture ) กะโหลกแตกร้าวบริเวณฐาน ( basilar skull fracture ) กะโหลกแตกยุบ ( depressed skull fracture )
1.3 เนื้อสมองช้ำ ( brain contusion )
2. บาดเจ็บที่ศีรษะระยะที่สอง ( secondary head injury )
1. Intracranial hematoma
1.1 epidural hematoma - EDH
ผู้ป่วยจะหมดสติทันทีหลังได้รับแรงกระแทกที่ศีรษะ
1.2 subdural hematoma - SDH
เกิดการฉีกขาดของ bridging vein
1.3 Subarachnoid hemorrhage
เป็นการมีเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มสมองระหว่างชั้น arachinoid กับชั้น pia matter
1.4 intracerebral hematoma - ICH
อาการแสดงมักสัมพันธ์กับขนาดและต าแหน่งของก้อนเลือด ทำให้หน้าที่ของสมองเฉพาะส่วนเสียไป
2. Cerebral edema
ภาวะที่เนื้อสมอง
เพิ่มปริมาตรเนื่องจากการบวมนheภายหลังได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ
1
. Vasogenic edema
มีการทำลายการทำหน้าที่ตามปกติของ blood brain barrier
2. Cytotoxic edema
เกิดจากการเสียหน้าที่ในการขับโซเดียมออกนอกเซลล์ จึงทำให้มีโซเดียมและน้้ำสูงภายในเซลล์
วิธีการรักษา
1. Craniotomy
คือการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะแล้วปิดกะโหลก
2. Craniectomy
คือ การผ่าตัดเปิดกะโหลกแล้วไม่ปิด
3. Cranioplasty
คือ การผ่าตัดปิดกะโหลกศีรษะในภายหลัง
Hydrocephalus
การมีน้ำของสมองและไขสันหลัง (CSF) ถูกสะสมภายในกะโหลกศีรษะในปริมาณที่มากเกิน
การรักษา (Treatment)
1.การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide 2.การรักษาด้วยการผ่าตัด1.) การผ่าตัดใส่สายระบายน้ าในโพรงสมองออกนอกร่างกาย(External Ventricular Drainage = EVD,Ventriculostomy)
โรคแทรกซ้อนจากการผ่าตัด(Complication)
1.การทำงานผิดปกติของสายระบายน้ำในโพรงสมอง(Shunt malfunction )
2.การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง(Shunt infection)
3.การอุดตันสายระบายน้ำในโพรงสมอง(Shunt obstruction)
4.ภาวะระบายน้ำในโพรงสมองมากเกิน(Overdrainage)
5.ภาวะโพรงสมองตีบแคบ(Slit ventricle)
6.ภาวะเลือดออกในศีรษะ
7.ไตอักเสบ (Shunt nephritis)
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
(Increase intracranial pressure = IICP )
เป็นสาเหตุสำคัญของการเกิด Secondary brain damageกะโหลกศีรษะสูงภายใน 24-72 ชั่วโมงแรก และมีโอกาสเกิดได้สูงสุดใน 6 ชั่วโมงแรก หลังผ่าตัด
สาเหตุ
Airway obstruction
Hypoxia, Hypercapnia (Hypoventilation)
Hypertension (ความเจ็บปวด, ไอ)
Hypotension (Hypovolemia, Sedation)
Posture (Head rotation)
Hyperpyrexia
Seizure
ปัจจัยส่งเสริม
1. การระบายอากาศหายใจไม่เพียงพอ (Hypoventilation)
PaCO2 > 45 มม.ปรอท และมีPaO2 < 50 มม.ปรอท
2. การได้รับยาที่มีฤทธิ์ขยายหลอดเลือด
เช่นHalo-thane
3.การทำกิจกรรมบางอย่าง
ที่ทำให้เพิ่มความดันภายในช่องอกหรือช่องท้อง (Valsava’s maneuver)
4. ภาวะไข้สูง
5.อุณหภูมิร่างกายต่ำเกินไป
6.อารมณ์หรือการถูกกระตุ้นด้วยความเจ็บปวด
กลไกการปรับชดเชย Compesatory mechanism
เมื่อเกิดพยาธิสภาพใต้กะโหลกศีรษะ (mass lesion)สมองจะปรับปริมาตรส่วนอื่นให้ไหลออกจะกะโหลกศีรษะไปสู่ช่องไขสันหลัง เช่น Venous volume , CSF เพื่อคงความดันใต้กะโหลกศีรษะให้คงที่ เรียกว่า
Compensation
และเมื่อสมอง
ไม่สามารถปรับ
ปริมาตรส่วนอื่นได้ทันทีหรือไม่เพียงพอต่อการคงความดันในกะโหลกศีรษะได้ ท าให้ความดันใต้กะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เรียกว่า
Decompensation
กลไก Autoregulation
1.ระยะที่มีการชดเชยโดยกลไกการควบคุมอัตโนมัติ
ระยะนี้ระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วยยังดีอยู่ และยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ อาจมีอาการปวดศีรษะแต่ไม่รุนแรง
2. ระยะที่มีการชดเชยโดยคูชิงรีเฟลกซ์(Cushing’s reflex)
โดยความดัน systolic จะสุงขึ้น pulsepressure กว้างมากกว่าปกติ หัวใจเต้นช้าลง การหายใจ ช้าและลึก หายใจไม่สม่ำเสมอ
Cushing’s reflex
• ความดัน systolic จะสูงขึ้น> 140 mmHg
• pulse pressure กว้างมากกว่าปกติ ≥ 40 mmHg
• หัวใจเต้นช้าลง < 60 ครั้ง/นาที
• การหายใจช้าและลึก หายใจไม่สม่ าเสมอ < 12 ครั้ง/นาที
• GCS drop ≥ 2 คะแนน
3. ระยะท้ายของการชดเชยโดย Cushing’ reflex
ระยะที่ ICP สูงขึ้นอาจสูงเท่าแรงดัน systolic
4. ระยะสูญเสียกลไกการชดเชยโดยสิ้นเชิง
ระยะที่ความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น อาจเท่ากับความดัน systolic ท าให้ศูนย์ควบคุมการหดขยายของหลอดเลือดในก้านสมองเป็นอัมพาตจนไม่มีเลือดไหลเวียนไปสมองได้อีก
ผู้ป่วยจะมีอาการ
รูม่านตาขยายโตเต็มที่ทั้งสองข้าง
แขนขาอ่อนปวกเปียกหมดทั้งสองข้าง
ไม่มีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
ความดันโลหิตจะต่ าลงมาก ชีพจรเบาเร็วไม่สม่ำเสมอ
หายใจหอบมากจนหยุดหายใจ
อุณหภูมิอาจสูงขึ้นถึง 40 องศาเซลเซียส
เสียชีวิตในที่สุด
ภาวะสมองเคลื่อน (cerebral herniation)
เนื้อสมองเคลื่อนสู่บริเวณอื่นที่ไม่ใช่ตำแหน่งที่ตั้งตามปกติ
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา
1.1 กลุ่ม osmotic diuretics เช่น mannitol 20% และ 25% (0.25g/kg)
1.2 Glucocorticoids ที่นิยมใช้คือDexametasone
1.3 Anticonvulsant ยากันชัก Phenytonin (Dilantin)
การผสมยา dilantin ให้ผสมกับสารละลายที่ไม่มส่วนประกอบของน้ าตาล ได้แก่ 0.9 % nss เนื่องจากน้ำตาลจะท าปฏิกิริยากับยาทำให้ตกตะกอนได้
1.4 Nonosmotic diuretic ได้แก่ กลุ่ม loop diureticsLasix เพื่อดึงโซเดียมและน้ำออกจากบริเวณที่บวม
1.5 Babiturate ใช้ในรายที่มี IICP รุนแรง
2. การผ่าตัด
เพื่อลดสิ่งที่เบียดสมอง
2.1 ลดความดันภายนอกโดยการผ่าตัดทำDecompressive Craniectomy
2.2 ลดความดันภายในโดยการทำ Ventricular drainage
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความดันภายในโพรงกะโหลกศีรษะสูง
การประเมินผู้ป่วยทางระบบประสาท
การดูแลทางเดินหายใจเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
จัดท่าศีรษะสูง 30 องศา
การลดปัจจัยที่ทำให้ความดันภายในโพรงกะโหลกศีรษะเพิ่มสูงขึ้น
หลีกเลี่ยงการผูกยึดผู้ป่วย
6.ลดอุณหภูมิในร่างกาย
7.ลดสิ่งกระตุ้นที่ไม่จ าเป็น
8.ดูแลความสมดุลของสารน้ าและอิเลคโทรลัยท
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์
การดูแลเมื่อผู้ป่วยใส่เครื่องวัดความดันในกะโหลกศีรษะ
ดูแลทางด้านจิตใจ