Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มารดาอายุ 27 ปี G4P3A0L3 last 5 ปี GA 39 wks by u/s Dx. GA 39 wks c…
มารดาอายุ 27 ปี
G4P3A0L3 last 5 ปี
GA 39 wks by u/s
Dx. GA 39 wks c GDMA2
คลอด AbNL C/S c TR เวลา 09.40 น. ทารกเพศชาย น้ำหนัก 3665 กรัม
พยาธิสรีรภาพ
เบาหวานในขณะตั้งครรภ์เกิดจากภาวะที่มีการต้านอินซูลินกับความบกพร่องของการหลัง อินซูลิน ในระยะแรกของการตั้งครรภ์ ร่างกายสตรีมีครรภ์จะมีการสะสมพลังงานเพื่อใช้เป็นแหล่ง พลังงานในการเจริญเติบโตของทารก โดยฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนจากรกจะกระต้นใน beta cell ในตับอ่อนของมารดาหลั่งอินซูลินมากขึ้น อินซูลินจะทำหน้าที่หลักในการเปลี่ยนน้ำตาลใน อยู่ในรูปของไขมันสะสมตามเนื้อเยื่อต่างๆ ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดมารดาลดลง เมื่ออายุครรภ์เพิ่ม ขึ้น ทารกมีความต้องการพลังงานมากขึ้นตามลำดับ ร่างกายสตรีมีครรภ์จะใช้พลังงานที่ได้จากการ สลายไขมันมากขึ้น และลดการใช้น้ำตาลเพื่อสงวนไว้ให้ทารก ในขณะเดียวกันรกสร้างฮอร์โมนที่มีฤทธิ์ ด้านการทำงานของอินซูลิน ได้แก่ human placental lactogen (HPL) prolactin, Cortisal, estrogen progesterone และ insulinase โดยเฉพาะ HPL มีบทบาทเด่นและเพิ่มมากขึ้นตามอายุครรภ์ ทำให้เกิด ภาวะดืออินซูลิน ระดับน้ำตาลในเลือดของสตรีมีครรภ์จึงสูงขึ้น ตับอ่อนจึงพยายามชดเชยโดยผลิตอินส ลินเพิ่มขึ้นเพื่อให้เพียงพอกับความต้องการถ้าหากไม่สามารถผลิตอินซูลินให้มากขึ้นได้ก็จะแสดงออก โดยการเป็นเบาหวานในขณะตั้งครรภ์ สำหรับในรายที่เป็นเบาหวานอยู่แล้วก็ต้องการอินซูลินมากขึ้น เพื่อควบคุมระดับนำตาลให้สมดุล HPL นอกจากมีฤทธิ์ต้านอินซูลินแล้ว ยังมีบทบาทในการสลายไข มันด้วย ทำให้ระดับ free fatty acid (FFA) และ ketone เพิ่มขึ้นจากการสลายไขมัน และระดับของ amino acid ของสตรีมีครรภ์จะลดลงเนื่องจากถูกนำไปใช้ในการสร้างเนื้อเยื่อของรกและทารก อาการและอาการแสดง
ปัญหา/ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
เตรียมความพร้อมเพื่อการผ่าตัดคลอด
อาจเกิดภาวะ Hypo-Hyper glycemia
เสี่ยงต่อภาวะ fetal distress
หลังผ่าตัด
มารดา
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดจากการดมยาสลบ
ปวดแปลผ่าตัดและมดลูด
อาจเกิดภาวะ Hypo-Hyper glycemia
เสี่ยงต่อภาวะตกเลือด
ทารก
อาจเกิดภาวะ Hypoglycemia
อาจเกิดภาวะตัวเหลืองเนื่องจากได้รับน้ำนมไม่เพียงพอ
ชนิดของโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
โรคเบาหวานที่วินิจฉัยได้ก่อนตั้งครรภ์ (pregestational diabetes mellitus/ overt DM)
โรคเบาหวานที่วินิจฉัยได้เป็นครั้งแรกขณะตั้งครรภ์ (Gestational diabetes mellitus:GDM)
class A1
2hrPP < 120 mg/dl
FBS < 105 mg/dl
การรักษาควบคุมอาหาร
class A2
FBS < 105 mg/dl
2hrPP < 120 mg/dl
การรักษาอินซูลิน
20/10/62 admit เพื่อเตรียมผ่าตัดคลอด
2hrPP เที่ยง 89
2hrPP เย็น 142 RI 4 u
ประวัติการเจ็บป่วย
28/6/62 (GA 22+5 wks) Gloucose (50g) 138 mg/dl
23/8/62 (GA 30+5 wks)
Gloucose (50g) 141 mg/dl
30/8/62 (GA 31+5 wks) OGTT 100g = 94, 182, 162, 134 ส่งพบโภชนาการ
06/9/62 (GA 32+5 wks) FBS 95 mg/dl, 2้hrPP 154 mg/dl NST reactive admit เพื่อปรับน้ำตาล (admit 5 วัน D/C on RI)
ฉีดยา RI 4-4-4-0 sc
27/9/62 (GA 35+5 wks) FBS 93 mg/dl, 2hrPP 110 mg/dl NST reactive
04/10/62 (GA 36+5 wks) FBS 95 mg/dl, 2hrPP 99 mg/dl
NST reactive
18/10/62 (GA 38+5 wks) FBS 90 mg/dl, 2hrPP 115 mg/dl
NST reactivePV.Cx.dilate 2 cm. 60% MI -3, Plan induction
ผล lab HIV -ve
VDRL NR
HBsAg -ve
ปฎิเสธโรคประจำตัวตัว/การแพ้ยาและอาหาร
และประวัติในครอบครัว
อาการสำคัญ : แพทย์นัดผ่าตัดคลอดเนื่องจากทารกตัวใหญ่
21/10/62
DTX 110 mg%
5%DN/2 rate 120 ml/hr
ติดตาม DTX ทุก 1 ชั่วโมง
07.00 น. 115 mg%
08.00 น. 102 mg%
09.00 น. 109mg%
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรคเบาหวาน
ทำให้การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดยากขึ้น
เกิดภาวะ diabetic ketoacidosis ได้ง่าย
โอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากความผิดปกติของหลอดเลือดสูงขึ้น เช่น จอตาเสื่อมสภาพ (retinopathy) การทํางานของไตแย่ลง (diabetic nephropathy) หรือกรวยไตอักเสบ (pyelonephritis)
ผลของโรคเบาหวานต่อภาวะ
สุขภาพมารดาและทารกในครรภ์
มารดา
ภาวะ hypoglycemia
ภาวะ hyperglycemia
การติดเชื้อ โดยเฉพาะการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ครรภ์แฝดน้ํา (hydramnios)
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
การคลอดยาก (dystocia)
การตกเลือดหลังคลอด
อัตราการตายของมารดา
ด้านจิตใจสตรีมีครรภ์จะมีความวิตกกังวล
ทารก
การแท้ง
ทารกเสียชีวิตในครรภ์ (intrauterine fetal death)
ความพิการแต่กําเนิด (Congenital anomalies)
ทารกตัวโตกว่าปกติ (macrosomia)
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (intrauterine growth restriction: IUGR)
ภาวะหายใจลําบาก (respiratory distress Syndrome: RDS)
ภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา (neonatal hypoglycemia)
ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ํา (hypocaloemia)
ภาวะเลือดข้น (polycythemia)
ภาวะบิลิรูบินในเลือดสูง (hyperbilirubinemia)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
GCT > 140 mg/dl
OGTT 95 180 155 140
OGTT 105 190 165 145
แปลผล ค่า OGTT 1 ผิดปกตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไปถือว่าผิดปกติ ให้วินิจฉัยว่ามีโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (GDM)
แต่ถ้าพบว่า ค่า OGTT ผิดปกติเพียงค่าเดียว ควรตรวจซ้ำในอีก 1 เดือนต่อมา
Fasting plasma glucose (FBS) was 2-hour postprandial (2-hr pp) จะตรวจเมื่อหญิงตั้งครรภ์มีค่า OGTT ผิดปกติตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไป การแปลผล ค่า FBS มากกว่า 105 mg/dL ขึ้นไปถือว่า ผิดปกติค่า 2-hr pp มากกว่า 120 mg/dL ขึ้นไปถือว่า ผิดปกติ
วิธีการแบ่งระดับความรุนแรง
เพื่อการรักษาในเบื้องต้น ดังนี้
กรณีที่ค่า OGTT ผิดปกติตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไปแต่ ค่าFBS ต่ํากว่า 105 mg/d ให้การรักษาโดย การควบคุมอาหาร และติดตามระดับน้ําตาลในเลือด ถ้ามีการควบคุมอาหารอย่างถูกต้อง และตรวจ พบค่า FBS ต่ํากว่า 105 mg/dL และค่า 2-hour pp ต่ํากว่า 120 mg/dL จัดว่าเป็น Gestational DM Class A1 (GDM A1)
กรณีที่ค่า OGTT ผิดปกติตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไป โดยที่ค่า FBS มีค่าตั้งแต่ 105 mg/dL ขึ้นไป ให้การรักษาโดยการควบคุมอาหาร และติดตามระดับน้ําตาลในเลือด ถ้ามีการควบคุมอาหารอย่างถูก ต้องแล้ว แต่ยังพบระดับ FBS มีค่าสูงตั้งแต่ 105 mg/dL ขึ้นไป และ/หรือ ระดับ 2-hour pp มีค่าสูง ตั้งแต่ 120 mg/dL ขึ้นไป จะให้การวินิจฉัยว่าเป็น Gestational DM Class A2 (GDM A2) จะเริ่มต้น ให้การรักษาด้วยยาฉีดอินสุลิน