Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คอม (บทที่ 7 การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์…
คอม
บทที่ 7
การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล
องค์ประกอบพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูล
ผู้รับ (receiver)
สื่อกลางในการส่งข้อมูล (transmission media)
ผู้ส่ง (sender)
โพรโทคอล (protocol) เช่น
HTTP
TCP/IPซึ่งประกอบด้วย 2 โปรโตคอลคือ TCP และ IP
ข้อมูล ข่าวสาร (data message)
สื่อกลางนาข้อมูลมี 2ประเภทได้แก่
ตัวกลางส่งข้อมูลแบบมีสาย (Wire Transmission)
สายคู่บิดเกลียว Twisted pair
สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน
สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน
Coaxial Cable มีลักษณะเช่นเดียวกับสายทีวี
Fiber Optic Cable สามารถรับ-ส่ง ข้อมูลได้ไกล เป็นกี่กิโลเมตร
ตัวกลางส่งข้อมูลแบบไร้สาย (Wireless Transmission)
Radio Wave สัญญาณที่ส่งออกจะกระจายทั่วทิศทางในอากาศ
Microwave System ความถี่สูงกว่าคลื่นวิทยุ สัญญาณจะเดินทางเป็นเส้นตรง
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบบบัส
(bus topology)
แบบวงแหวน (ring topology)
แบบดาว
(star topology)
แบบต้นไม้
(Tree Topology)
แบบผสม
(Hybrid Network)
ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายส่วนบุคคล หรือแพน ( Personal Area Network: PAN )
เครือข่ายนครหลวง หรือแมน (Metropolitan Area Network: MAN)
เครือข่ายเฉพาะที่ หรือแลน ( Local Area Network: LAN )
เครือข่ายวงกว้าง หรือแวน (Wide Area Network: WAN)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ประเภทระบบเครือข่ายในองค์กร
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต
เครือข่ายอินทราเน็ต
บทที่ 8
ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
การเชื่อมต่อแบบบุคคล
การเชื่อมต่อแบบองค์กร
การบริการพื้นฐานทางอินเทอร์เน็ต
World Wide Web (WWW)
ไปรษณีย์อิเลคทรอนิคส์ (Electronic Mail หรือ E-Mail)
Telnet
FTP (File Transfer Protocol)
Chat
มาตรฐานการสื่อสาร TCP/IP เป็นมาตรฐานในการสื่อสาร ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
TCP จะทำหน้าที่ในการแยกข้อมูลเป็นส่วน ๆ หรือที่เรียกว่า Package ส่งออกไป
IP จะทำหน้าที่ในการจัดส่งข้อมูลจากเครื่องต้นทางไปยังเครื่องปลายทางโดยอาศัย IP Address
บทที่ 5 ข้อมูลและการบริหารข้อมูล
ข้อมูล ข้อเท็จจริง วัตถุ หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ที่ยังไม่ผ่านการประมวลผล
คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี
ความถูกต้อง
ความรวดเร็วในการประมวลผล
ความชัดเจนและกะทัดรัด
ความสมบูรณ์
โครงสร้างแฟ้มข้อมูล
บิต
ไบต์
เขตข้อมูล
ระเบียน
แฟ้มข้อมูล
สารสนเทศ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว
บทที่ 9
จริยธรรม ความปลอดภัยบนเครือข่ายและเทคนิคการเข้ารหัส
จริยธรรมกับสังคมยุคสารสนเทศ
ความเปหนส่วนตัว (Information Privacy)
ความถูกตอ้ งแม่นยา (Information Accuracy)
ความเปหนเจา้ ของ (Information Property)
การเขา้ ถึงขอ้ มูล (Information Accessibility)
การเข้าถึงข้อมูล (Information Accessibility)
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Crime)
ระบบเลขฐาน
เลขฐาน หมายถึง กลุ่มข้อมูลที่มีจานวนหลัก (Digit) ตามชื่อของเลขฐานนั้นๆ เช่น
ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number)
ประกอบด้วยตัวเลขสิบตัว
คือ 0, 1, 2,...,9
ระบบเลขฐานสิบ (Decimal Number)
กลุ่มตัวเลขที่แต่ละหลักมีค่า 0ถึง 9เท่านั้น
ระบบเลขฐานแปด (Octal Number)
ประกอบด้วยตัวเลขแปดตัว
คือ 0, 1, 2,...,7
ระบบเลขฐานสอง (Binary Number)
ประกอบด้วยตัวเลขสองตัว
คือ 0และ 1