Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน (ลักษณะของชุมชนเข้มเเข็ง…
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน
ความหมาย
การที่ชุมชนมีการรวมตัวกันเป็นปึกแผ่น มีศักยภาพในการพึ่งตนเองและการเรียนรู้ในระดับสูงมีองค์กรในชุมชน กลุ่มผู้นำการเปลี่ยนแปลง และภาคีเครือข่ายการพัฒนาที่เข้มแข็งของชุมชนการที่ชุมชนมีการรวมตัวกันเป็นปึกแผ่น มีศักยภาพในการพึ่งตนเองและการเรียนรู้ในระดับสูงมีองค์กรในชุมชน กลุ่มผู้นำการเปลี่ยนแปลง และภาคีเครือข่ายการพัฒนาที่เข้มแข็งของชุมชน
แนวคิดของชุมชนเข้มแข็ง
ชุมชนเข้มแข็งตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การเพิ่มศักยภาพองค์กรชุมชน ได้แก่ การสนับสนุนแหล่งเงินทุนสาหรับการพัฒนาชุมชน
การส่งเสริมการมีส่วนร่วมโดยการการสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนและท้องถิ่นในการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นฐาน
ด้านเกี่ยวกับผู้นำ
ด้านการรวมกลุ่มกิจกรรม
ด้านการบริหารจัดการกลุ่ม
ด้านการเรียนรู้และการถ่ายทอดองค์ความรู้
ด้านการสร้างเครือข่าย
ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ด้านการสร้างจิตสำนึกรักถิ่นฐานของคนในชุมชน
ด้านการปรับตัวต่อกระแสการเปลี่ยนแปลง
แนวคิดการจัดกรชุมชนเข้มแข็งตามแนวพุทธ
เน้นการพึ่งตนเอง
การเน้นการใช้ชีวิตอย่างไม่ประมาท
การเน้นอหิงสาหรือการละเว้นจากการสร้งเงื่อนไขที่ก่อให้เกิดความรุนแรง
การเน้นการดำเนินชีวิตและประกอบอชีพการงานที่เป็นประโยชน์สุจริตและมีมานะ อดทน
การนั้นการไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น
พยายามละกิเลสและความโลภ
การนันความซื่อสัตย์สุจริตมีความละอายและเกรงกลัวการกระทำผิด
องค์ประกอบของชุมชนเข้มแข็ง
การมีส่วนร่วมที่สนับสนุนให้ชุมชนเข้มแข็งแบบไตรภาคีได้แก่องค์กรชุมชน องค์กรภาครัฐ องค์กรภาคีสนับสนุน
ระบบสนับสนุนชุมชนเข้มแข็งได้แก่ระบบความรู้ระบบข้อมูลระบบความสัมพันธ์ และมีแนวทางในการนาไปสู่การปฏิบัติเพื่อสร้างชุมชนเข้มแข็ง
แนวทางในการสร้างชุมชนเข้มแข็งคือแนวทางด้านการฟื้นฟูชุมชน แนวทางด้านการปรับตัวของ
ลักษณะของชุมชนเข้มเเข็ง
สมาชิกของชุมชนมีความเชื่อมันในศักยภาพของตนและชุมชนที่จะแก้ไขปัญหาและพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของตนเอง
สมาชิกของชุมชนพร้อมที่จะร่วมกันจัดการกับปัญหาของตนและชุมชน
มีกระบวนการของชุมชนที่มีการเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องจน
สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมในการประมินสถานกรณของชุมชนกำหนดวิสัยทัศน์ร่วม ร่วมคิดตัดสินใจ
สมาชิกชุมชนเกิดการเรียนรู้ผ่านการเข้าร่วมในกระบวนการของชุมชน
มีแผนของชุมชนที่ประกอบด้วยการพัฒนาทุกๆด้านของชุมชนที่มุ่งการพึ่งตนเองเอื้อประโยชน์ต่อสมาชิกชุมชนทุกๆคน
มีเครือข่ายความร่วมมือกับภาคีการพัฒนาอาจเป็นหมู่บ้านชุมชนอื่น
กระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ประชาคม คือ การรวมตัวของสมาชิกในชุมชนเพื่อร่วมกันทำกิจกรรมต่างๆของชุมชนด้วยตนเอง เป็นเวทีของการพูดคุยแลกเปลี่ยนถกแถลง(ไม่ใช้โต้เถียง) เกี่ยวกับข้อมูล เช่นการแก้ไขปัญหาในชุมชน การวางแผนพัฒนาชุมชน
วงจรการจัดเวทีประชาคม
การเตียมการ
การดำเนินการ
การประเมินผลและติดตามผล
สิ่งที่ควรคำนึงในการจัดเวทีประชาคม
ผู้ดำเนินการและทีมงานจะต้องศึกษาชุมชนให้ซัดเจนทุกแง่มุม
การเลือกวิธีการ และเทคนิคการจัดเวทีประชาคม สามารถปรับประยุกต์ใช้ให้
เหมาะสมกับความถนัด ความสามารถ ของผู้จัดและกลุ่มเป้าหมายได้
กระบวนการจัดเวทีประชาคม กระบวนการพัฒนาชุมชน มีขั้นตอน การคึกษาชุมชน
ให้การศึกษาชุมชน การวางแผน การดำเนินการ การติดตามประเมินผล (โดยต้องยึดหลักการมีส่วนร่วม)
ต้องใช้ทีมงานหลายคนในการจัดเวทีประชาคม
ใช้ระยะเวลาในการดำเนินการนาน
เป็นเทคนิคที่ระดมความคิดเห็นของประชาชนในชุมชนเพื่อช่วยกันวางแผนเพื่อการพัฒนาชุมชนเป็นเทคนิคที่มีศักยภาพในการสร้งพลังและกระตุ้นการยอมรับของชาวบนให้มีส่วนร่วมในการคิด การวางแผนเพื่อการพัฒนาชุมชนของตนเอง
แผนที่ชุมชน (Community Mapping) คือ แผนที่ที่ชุมชนวาดขึ้นเอง แสดงอาณาเขตกิจกรรม หรือกลุ่มต่างๆ ในชุมชนแผนที่ชุมชนสามารถบอกข้อมูลต่างๆ
แผนที่ร่างกาย (Body Mapping) คือ เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลโดยใช้ภาพร่างกายขนาดเท่าคนจริง โดยให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม พิจารณาถึงผลกระทบของปัญหาที่เรากำลังศึกษาที่มีส่วนต่างๆของคนเรา