Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาท (Hydrocephalus (การพยาบาลก่อนผ่าตั…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาท
บาดเจ็บที่ศีรษะ Head injury
การบาดเจ็บโดยตรง direc injury
บาดเจ็บที่เกิดขณะอยู่นิ่ง static head injury
พยาธิสภาพที่เกิดขึ้นจะเป็นพยาธิสภาพเฉพาะที่เท่านั้น
บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะเคลื่อนที่ dynamic dead injury
ขับรถชนต้นไม้ ทำให้บาดเจ็บหรือพยาธิสภาพแก่สมองส่วนนั้น มักมีการแตกร้าวของกระโหลกศีรษะร่วมด้วย
การบาดเจ็บโดยอ้อม indirect injury
การบาดเจ็บเกิดขึ้นกับส่วนอื่นของร่างกายแล้วมีผลสะท้อน ทำให้เกิดการบาดเจ็บที่ศีรษะขึ้น
ตกจากที่สูงก้นกระแทกพื้น ทำให้ศีรษะกระแทกลงมาบนส่วนของกระดูกคอ
การประเมินทางระบบประสาท
การประเมินเกี่ยวกับการรับรู้สติ Level of cosiousness
1.Full consciousness รู้สึกตัวดี
2.Confusion รู้สึกสับสนและมีความผิดปกติ
4.Drowsiness เมื่อเรียกชื่อสามารถลืมตา มีอาการง่วง พูดช้า สับสน
5.Stupor หลับลึก แต่ยังตอบสนองต่อสิ่งเร้า
3.Disorientation การรับรู้ผิดปกติ ไม่รับรู้เวลา สถานที่
6.Coma ไม่รู้สึกตัว
การตรวจอาการของการระคายเยื่อหุ้มสมอง
Stiff neck คอแข็ง
Brudzinkl's sign ให้ผลบวกเมื่องอศีรษะคางชิดอก มีการตอบสนองโดยการงอขาทั้งสองข้าง
Kernig sign
การบาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรก
หนังศีรษะ
บวม ช้ำ หรือโน contusion
ถลอก abrasion
ฉีกขาด laceration
กระโหลกศีรษะ
กระโหลกแตกร้าวเป็นแนว
สาเหตุ
การกระทบอย่างแรงเป็นบริเวณกว้างของกระโหลก
กระโหลกแตกร้าวบริเวณฐาน basilar skull fracture
รอยเขียวคล้ำบริเวณหลังหู battle's sign
แก้วหูฉีกขาด เลือดออกหลังแก้วหู
มีน้ำหรือเลือดไหลทางจมูกหรือทางรูหู
ผิวหนังบริเวณรอบเบ้าตาเขียวคล้ำ raccoon's eyes
การบาดเจ็บระยะที่2
intracranial hematoma
epidural hematoma EDH
ผู้ป่วยจะหมดสติทันที หลังได้รับแรงกะแทกที่ศีรษะ
อาการ
ปวดศีรษะอย่างรุนแรง ชัก อาเจียน
อ่อนแรงครึ่งซีก ตรงข้ามกับด้านรอยโรค
รูม่านตาขยาย fixed ข้างเดียวกับรอยโรค
subdural hematoma SDH
เกิดการฉีกขาดของ bridging vein
acute
เกิดภายใน48ชั่วโมง
ระดับการรับรู้สติลดลง
มีการเปลี่ยนแปลงของรูม่านตา
subacute
เกิดก้อนเลือดใต้เยื่อดูรา เกิดอาการภายใน2วันถึง2สัปดาห์
chronic
เกิดหลังบาดเจ็บนานเป็นหลายเดือน
ปวดศีรษะรุนแรง สับสน ง่วงซึม
รูม่านตาขยายด้านเดียว
subarachnoid hemorrhage SAH
มีเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มสมองระหว่างชั้น arachnoid กับชั้น pia matter
เมื่อเลือดออกภายในชั้นนี้จะไปเพิ่มความดันในกระโหลกศีรษะให้สูงขึ้น
intracerebral hematoma ICH
อาการแสดงมักสัมพันธ์กับขนาดและตำแหน่งของก้อนเลือด
ทำให้หน้าที่ของสมองเฉพาะส่วนเสียไปและมีความดันในกระโหลกศีรษะสูงขึ้น
อัตราการตายสูง
สมองบวม cerebral edema
ภาวะที่เนื้อสมองเพิ่มปริมาตรเนื่องจากการบวมน้ำภยหลังได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ
Hydrocephalus
การมีน้ำของสมองและไขสันหลัง (CSF)ถูกสะสมภายในกะโหลกศีรษะในปริมาณที่มากเกิน ทำให้สมองบวม
การรักษา
การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ acetazolamild
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาลก่อนผ่าตัดสมอง
เตรียมด้านจิตใจ
เตรียมทางด้านร่างกายก่อนผ่าตัด
เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อรับผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
ภาวะความดันในกระโหลกศีรษะสูง increase intracranial pressure IICP
ปกติค่าความดันในกระโหลกศีรษะผู้ใหญ่มีค่า อยู่ระหว่าง 5-15mmHg
.ในผู้ใหญ่ค่าความดันในกระโหลกศีรษะสูงมากกว่า15mmHg (หรือ10-20 cm H2O)
สาเหตุ
มีการเพิ่มของขนาดสมอง
มีสิ่งกินที่ในสมอง
สมองบวม
การเพิ่มของเลือดที่ไปเลี้ยงสมองมากขึ้น
เลือดดำไหลกลับไม่สะดวก
เส้นเลือดแดงในสมองขยาย
ได้รับยาขยายหลอดเลือดสมอง
การเพิ่มของน้ำไขสันหลัง
การผลิตมากขึ้นจากการมีเนื้องอกของchoroid plexus
มีความผิดปกติในการดูดซึม
มีการอุดตันของทางเดินน้ำไขสันหลัง
กลไกการปรับชดเชย compesatory mechanism
ประการแรก
ลดการสร้างน้ำไขสันหลังที่chroid plexusลง และเพิ่มการดูดกลับของน้ำไขสันหลังที่arachinoid villi
ประการ2
dura ยืดขยายออก เนื้อสมองมีลักษณะอ่อนหยุ่น
ประการ3
ลดปริมาณเลือดในสมอง
ภาวะสมองเคลื่อน cerebral herniation
การเคลื่อนที่ของเนื้อสมองจากส่วนที่มีความดันสูงไปยังส่วนที่มีความดันต่ำกว่า
อาการและอาการแสดง
หายใจช้าลง ไม่สม่ำเสมอ
การไหลเวียนเลือดผิดปกติ puls pressure กว้าง
อุณหภูมิเพิ่มถึง39-40องศา
ปวดศีรษะมากตอนกลางคืน
อาเจียนหรือสะอึก
ชัก
อ่อนแรงและมีอัมพาาตของกล้ามเนื้อ
ขั้วประสาทตาบวม
การรักษา
รักษาด้วยยา
กลุ่มosmotic diuretics
glucocorticoids ช่วยลดสมองบวม
anticonvulsant ยากันชัก
nonosmotic diuretic
babiturate
การผ่าตัด
ลดความดันภายนอกโดยการผ่าตัดทำDecompressive craniectomy
ลดความดันภายในโดยการทำVentricular drainage