Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Antepatum hemorrhage (ต่อ) (สาเหตุ (Uterine rupture (การรักษา…
Antepatum hemorrhage (ต่อ)
สาเหตุ
Vasa previa
สาเหตุ
1.ความผิดปกติของรกและสายสะดือ
สายสะดือเกาะบนเยื่อหุ้มทารก
ภาวะที่มีรกน้อยชนิดที่มีเส้นเลือดทอดผ่าน
ภาวะที่มีรกสองอัน
ภาวะรกเกาะต่ำหรือ ครรภ์แฝด
การตั้งครรภ์ที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์
อาการและอาการแสดง
ระยะก่อนถุงน้ำคร่ำแตก
PVพบหลอดเลือดเต้นจังหวะเดียวกับเสียงหัวใจทารก
ส่องตรวจถุงน้ำคร่ำเห็นหลอดเลือดทอดอยู่บนถุงน้ำคร่ำชัดเจน
U/Sเห็นเลือดอยู่ต่ำกว่าส่วนนำ
พบเสียงหัวใจทารกมีการเปลี่ยนแปลง จากการที่หลอดเลือดถูก
FHS variable deceleration
ระยะหลังถุงน้ำคร่ำแตก
มีเลือดปนออกมากับน้ำคร่ำ
fetal distress
การรักษา
ก่อนถุงน้ำคร่ำแตก
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
หลังถุงน้ำคร่ำแตก
ให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดโดยเร็ว
ช่วยคลอดด้วยคีม(ปากมดลูกเปิดหมด)
ผ่าตัดคลอด(ปากมดลูกยังเปิดไม่หมด)
ท่าทารกตายในครรภ์คลอดเองทางช่องคลอด
การพยาบาล
สังเกตและบันทึกปริมาณสีและลักษณะของเลือดที่ออก
ฟังเสียงหัวใจของทารก
เตรียมร่างกายจิตใจของมารดาให้พร้อมก่อนสูติศาสตร์หัตถการ
รายงานกุมารแพทย์เตรียมเลือดอุปกรณ์ฟื้นคืนชีพทารก
ดูแลจิตสังคมมารดา
Uterine rupture
สาเหตุ
ภาวะมดลูกแตกที่เกิดขึ้นเอง spontaneous uterine rupture
เคยได้รับการผ่าตัดที่มดลูก
ได้รับบาดเจ็บที่มดลูก
ความผิดปกติแต่กำเนิดของมดลูก
เคยตั้งครรภ์และคลอดบุตรหลายครั้ง
ภาวะมดลูกแตกจากอันตรายที่เกิดกับมดลูก traumatic uterine rupture
บาดเจ็บอย่างรุนแรงบริเวณช่องท้องจากอุบัติเหตุ
ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
คลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการ
การคลอดติดขัด
การเกาะของรกลึกกว่าปกติ
มดลูกมีการยืดขยายมากกว่าปกติ
ชนิด
มดลูกแตกแบบสมบูรณ์
การแตกของชั้น
กล้ามเนื้อมดลูก
เยื่อบุมดลูก
เยื่อบุช่องท้อง
มดลูกแตกแบบไม่สมบูรณ์
การแตกของชั้น
กล้ามเนื้อมดลูก
เยื่อบุมดลูก
ชั้นเยื่อบุช่องท้องยังปกติอยู่
อาการและอาการแสดง
ก่อนมดลูกแตก
มดลูกหดรัดตัวรุนแรง ไม่คาย
ปวดบริเวณเหนือหัวหน่าวพบ bandl's ring
กระสับกระส่ายชีพจรเบาเร็วหายใจไม่สม่ำเสมอ
อัตราการเต้นของหัวใจทารกผิดปกติฟังเสียงหัวใจทารกไม่ได้
ตรวจภายในพบปากมดลูกบวมและอยู่สูงขึ้น
เลือดออกทางช่องคลอด
หดรัดตัวไม่สัมพันธ์กับการก้าวหน้าของการคลอด
เมื่อเกิดมดลูกแตก
ปวดและกดเจ็บบริเวณเหนือหัวหน้า
มดลูกหยุดการหดรัดตัวทันที อาการเจ็บครรภ์หายไป
ท้องโป่งตึง อึดอัดและปวดท้องอย่างรุนแรง
หายใจลำบาก เจ็บร้าวหน้าอกไปที่ไหปลาร้าขณะหายใจ
มีเลือดสดออกทางช่องคลอด
คำส่วนของทารกได้ง่ายทางหน้าท้อง
อัตราการเต้นของหัวใจทารกผิดปกติ
hypovolemic Shock
ผลกระทบ
่ต่อมารดา
ตกเลือดทั้งก่อนและหลังคลอด
อาจต้องตัดมดลูก
อักเสบติดเชื้อในช่องท้อง
น้ำคร่ำอุดตันในกระแสเลือด
เสียชีวิต
ต่อทารก
ภาวะแทรกซ้อนจากการทำหัตถการ
เสียชีวิต
ขาดออกซิเจน
การรักษา
แก้ไขภาวะช็อคจาการเสียเลือด
ผ่าตัดเพื่อนำทารกออก
ป้องกันการติดเชื้อ
การพยาบาล
เพื่อป้องกันภาวะมดลูกแตก
ประเมินปัจจัยเสี่ยง
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิด
ในระยะหลังคลอดติดตามอาการแสดงของภาวะช็อคหรือตกเลือด
กรณีมีภาวะมดลูกแตก
1.ประเมินอาการของภาวะช็อค ลักษณะของหน้าท้อง อาการเจ็บครรภ์ ปริมาณและลักษณะเลือดที่ออก
บันทึกสัญญาณชีพของมารดา FHS q 5'
ให้มารดานอนราบให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย
ให้ออกซิเจน NPO
หาหมู่เลือด Hb Hct เตรียมเลือด
ให้สารน้ำหรือเลือด
7.รายงานแพทย์