Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 วัฒนธรรมอาเซียน (โบราณคดีและพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ (1…
หน่วยที่ 7 วัฒนธรรมอาเซียน
โบราณคดีและพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
1.ยุคก่อนประวัติศาสตร์
1.1สมัยหินเก่า
พบโครงกระดูกของมนุษย์โบราณสายพันธุ์ "โฮโม อีเรคตัส"
ที่หมู่เกาะชวา อินโดนีเซีย เรียกว่า "มนุษย์ชวา"
วัฒนธรรมอันยาเนียน
ลุ่มน้ำอิรวดี เมียนมา
วัฒนธรรมแพทจิทาเนียน
เกาะชวา อินโดนีเซีย
วัฒนธรรมแทมพาเนียม
มาเลเซีย
วัฒนธรรมฟิงโนเนียน (วัฒนธรรมบ้านเก่า)
ลุ่มแม่น้ำแควน้อย จ.กาญจนบุรี
ยังชีพด้วยการล่าสัตว์และเก็บพืชป่าเป็นอาหาร
ไม่รู้จักการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์
ผลิตเครื่องมือเครื่องใช้หรืออาวุธสำหรับล่าสัตว์
ทำจากหินกระเทาะและขัดอย่างหยาบ
1.2สมัยหินกลาง
เริ่มนำวัสดุทางธรรมชาติมาใช้ประโยชน์
ทำเครื่องปั้นดินเผา
ทำเครื่องมือเครื่องใช้จากกระดูกสัตว์และเปลือกหอย
เรียกชื่อวัฒนธรรมตามแหล่งที่พบเครื่องมือเครื่องใช้
วัฒนธรรมฮัวบินห์ ตอนเหนือของเวียดนาม
เครื่องมือหินกะเทาะที่มีความเรียบและคม
ฝังศพมนุษย์ในลักษณะนอนงอเข่า
แผ่นหินวางทับไว้
ดินสีแดงโรยอยู่บนร่าง
ฝังเครื่องเซ่นสรวงในหลุมศพ
เครื่องมือเจาะและขูดที่ทำจากเปลือกหอยและกระดูกสัตว์
วัฒนธรรมบัคซอน ใกล้เมืองฮานอย เวียดนาม
พบเครื่องมือทำจากกระดูกหรือเปลือกหอย
เครื่องปั้นดินเผาแบบหยาบ
ลวดลายเชือกทาบบนพื้นดิน
พบเมล็ดพืชทำการเกษตร
1.3สมัยหินใหม่
มีการปฏิวัติทางเกษตรกรรมของมนุษย์
เป็นจุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
หลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญ
ตั้งถิ่นฐานเป็นหลักแหล่ง
รู้จักการปลูกข้าวเจ้า ข้าวฟ่าง การทำไร่เลื่อนลอย
การสร้างบ้านเรือนด้วยไม่ไผ่
การเลี้ยงสัตว์
ควายและหมู
การนำเปลือกไม้มาทำเครื่องนุ่มห่ม
ขวานหินขัดรูปแบบต่างๆ
ขวานพาดบ่า (ขวานหินรูปไข่ปลายมน)
หม้อดินเผาลายเครื่องสานหรือลายเชือกทาบ
ภาพวาดตามผนังถ้ำ
รูปคน รูปสัตว์ เรขาคณิต
เชื่อในวิญญาณหรือในพลังธรรมชาติ
1.4สมัยโลหะ
นักวิชาการเรียก "ยุคสำริด"หรือ"ยุคก่อตั้งเมือง"
พบเครื่องมือที่ทำจากโลหะ ทำจากทองแดงและดีบุก
มีการถลุงแร่เหล็กใช้ทำเครื่องมือ อาวุธ และเครื่องประดับ
รวมกันเป็นกลุ่ม เป็นชุมชน มีระบอบการปกครอง
วัฒนธรรม
หินใหญ่/หินตั้ง
พบในไทยและลาว
บ้านเชียง
พบเครื่องใช้ดินเผา
ดองซอน/ดงเซิน
กลองมโหระทึก
เริ่มประดิษฐ์อักษร