Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Rheumatoid (การพยาบาลกรณีศึกษา ((ประคบด้วยความร้อนและความเย็น),…
Rheumatoid
การพยาบาลกรณีศึกษา
- แนะนําให้ผู้ป่วยพักผ่อนอย่างสม่ำเสมอ เพื่อบรรเทาอาการปวดและไม่ให้เหนื่อยเกินไป ผู้ป่วย ควรนอนหลับในตอนกลางคืนวันละ 8-9 ชั่วโมง และกลางวัน วันละครั้งหรือมากกว่า ซึ่งพักประมาณ 30-60 นาที ที่นอนควรเป็นที่นอนที่แน่น และหนุน หมอนเพียง 1 ใบ หนนุพยุงส่วนคอเพื่อความสุขสบายของผู้ป่วย
- สอนให้ผู้ป่วยนอนควํ่าวันละ 2 ครั้ง เพื่อป้องกันข้อสะโพกและข้อเข่าไม่ให้มีความพิการในท่างอ โดยเฉพาะข้อที่มีความเจ็บปวดไม่ควรวางหมอนใต้ข้อเพราะ จะทําให้เกิดการหดรั้งของข้อในท่างอ
- ประคบด้วยความร้อนและความเย็น
- นวดเบาๆ เพื่อให้กล้ามเนื้อคลายตัวในการนวดไม่ควรนวดที่ข้อโดยตรง
- ให้ยาแก้ปวด และต้านการอักเสบตามแผนการรัก ษาของแพทย์ และ สังเกต อาการข้างเคียงของยาด้วย
- ข้อที่เจ็บ ควรใส่เครื่องพยุง(splint) ไว้ เพื่อให้ข้อนั้นได้พัก ลดอาการปวด และควรดูแลให้ผู้ป่วยทุกคนใส่เครื่องพยุงข้อที่ปวดในเวลากลางคืนด้วย การใช้ เครื่องพยุงที่ข้อมือนั้น ควรใส่ในท่าที่ข้อมือกระดูก ชิ้นเล็กน้อย ถ้าผู้ป่วยมีอาการเจ็บปวดที่กระดูกสันหลังบริเวณคอ ควรใส่เครื่องพยุงคอ (cervical collar) เพื่อ ป้องกันการเคลื่อนไหวของคอ
โรค
-
-
พยาธิสภาพ
-
- เยื่อบุข้ออักเสบ (Synovitis) เริ่มมีการอักเสบผิวข้อ (Synovial vili) จะขยายใหญ่ขึ้นถูกแทรกด้วยเซลล์หลายชนิดเช่นลิมโฟชัยทิคพลาสม่าลิมโฟปลาสตอยด์และแม็คโครเฟลจ์ (macrophage) ในระยะแรกการอักเสบจะจำกัดอยู่ในเยื่อหุ้มข้อ (joint capsule) โดยเฉพาะที่เยื่อบุข้อ (synovial membrane) เนื้อเยื่อจะบวมและหนาขึ้น
2.การเกิดพันนัส (Pannus formation) เมื่ออักเสบเรื้อรังทำให้เยื่อบุข้อหนาและแข็งเซาะกระดูกอ่อนและทำลายข้อกระดูกอ่อนได้รับอาหารไปเลี้ยงไม่พอจึงถูกทำลายมีการสลายตัว (lysis) และขาดอาหาร
- ข้อติดแข็งแบบไฟบรัส (Fibrous ankylosis) เกิดขึ้นจากการมีแกรนนูเลชั่นทิชชู (glanulation tissue) ต่อไปทำให้บริเวณนั้นเกิดเนื้อเส้นใย (Fibrous tissue) แข็งขึ้นเกิดแผลเป็นทำให้ข้อเคลื่อนไหวไม่ได้
4.ข้อติดแข็งแบบกระดูก (Bony ankylosis) เกิดเนื้อเส้นใยมีหินปูนเกาะและจะแข็งมากจนกระดูกและข้อแข็งเคลื่อนไหวไม่ได้การเปลี่ยนแปลงของอวัยวะใกล้เคียงคือกล้ามเนื้อผิวหนังที่อยู่ใกล้ชิดกับข้อที่มีพยาธิสภาพจะดึงรั้งผิวหนังจะดึงบางและดูเป็นมัน
ความหมาย โรคภูมิต้านทานผิดปกติเมื่อระบบภูมิคุ้มกันของผู้ป่วยโจมตีของข้อต่อและข้อพับและทำให้เกิดการอักเสบซึ่งส่งผลให้ไซโตไคน์บุกรุกไปยังข้อต่อและทำให้เกิดความเสียหายต่อกระดกู กระดูกอ่อน เส้นเอ็นและเอ็น ทำให้เกิดอาการปวดและบวมและสูญเสียการทำงานและการเปลี่ยนรูปสามารถโจมตีอวัยวะอื่นๆ เช่นดวงตา ผิวหนัง หัวใจและปอดได้ด้วยเช่นกันและมีความเป็นไปได้ที่ทำให้เกิดโรคร้ายแรงเช่นกล้ามเนื้อหัวใจตายและโรคหลอดเลือดสมอง ไม่ได้เป็นกรรมพันธุ์และอาจเกิดขึ้นได้กับบุคคลใดๆ ที่มีอายุระหว่าง 30 ถึง 50 ปี
-
-
ข้อวินิจฉัยพยาบาลทั่วไป
-
2.ไม่สุขสบายเนื่องจากอาการปวดข้อเรื้อรัง การเคลื่อนไหวร่างกายที่ไม่ปกติเป็นผลจากการอักเสบและบวมของข้อ
-
4.แบบแผนการนอนหลับ การพักผ่อนถูกรบกวน เนื่องจากอาการปวดข้อ ข้อฝืดแข็ง ปวดกล้ามเนื้อ และกระดูก เป็นผลจากการอักเสบเรื้อรัง
-
การรักษาทั่วไป
- การพัก (Bed rest) ผู้ป่วยที่ข้ออักเสบรุนแรง
-
- กายภาพบำบัดเช่นประคบความร้อนบริหารข้อและกล้ามเนื้อ
-
-
การวินิจฉัย
- ข้อฝืดตึงตอนเช้านานกว่า 1 ชั่วโมง
-
-
-
-
-
- ตรวจพบปุ่มรูมาตอยด์บริเวณใกล้ข้อ bony prominence
-