Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 วัฒนธรรมอาเซียน (ที่มา (สาเหตุความแตกต่างของวัฒนธรรมอาเซียน…
หน่วยที่ 7 วัฒนธรรมอาเซียน
ที่มา
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน)
ประเทศสมาชิก
เมียนมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ แลบรูไน
อุษาคเนย์
เอเชียอาคเนย์
สาเหตุความแตกต่างของวัฒนธรรมอาเซียน ที่ทำให้เกิดความหลากหลาย
ความแตกต่างของระบบนิเวศในภูมิภาค
การปรับใช้วัฒนธรรมดั้งเดิม
การรับวัฒนธรรมต่างถิ่นเข้ามา
การผสมผสานวัฒนธรรมต่างถิ่นเข้ากับวัฒนธรรมดั้งเดิม
ภูมิหลัง
ดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ชาวจีนเรียก "จินหลิน" หรือ "กิมหลิน" = แผ่นดินทองหรือดินแดนทอง
ความอุดมสมบูรณ์ของผืนแผ่นดินและทรัพยากรธรรมชาติ
ความมั่งคั่งของอาณาจักรต่างๆ
ชาวอินเดียเรียก "สุวรรณภูมิ"
= แหลมทอง
= แผ่นดินทอง , ดินแดนทอง
นักภูมิศาสตร์ชาวกรีก Ptolemy เรียกคาบสมุทรมาเลย์ว่า "โกลเด้น เกอร์โซนีส"
แปลมาจากภาษาสันสกฤตว่า "สุวรรณทวีป"
เป็นส่วนหนึ่งของ "เส้นทางสายไหม"
เส้นทางค้าขายสำคัญระหว่างซีกโลกตะวันออก (ปลายทางที่จีน) กับซีกโลกตะวันตก
ตั้งอยู่ระหว่างมหาสมุทรอินเดียทางด้านตะวันตกและมหาสมุทรแซิฟิกทางด้านตะวันออก
เกิดศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนค้าขาย หรือ "จุดนัดพบ"
ในยุคล่าอาณานิคมถูกเรียกว่า "อินเดียตะวันออก"
นักวิชาการบางท่านเรียก "Further India"
นักภูมิศาสตร์กลุ่มหนึ่งเรียก "Asia of the Monsoons"
ตั้งชื่อจากมรสุมที่ได้รับ
อิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและลมมรสุมตะวันนออกเฉียงใต้
แบ่งพื้นที่ได้ 2 ส่วน
1.ภาคพื้นทวีปที่เป็นผืนแผ่นดินใหญ่ (Mainland)
2.ภาคพื้นสมุทรซึ่งเป็นหมู่เกาะ
เหมาะสมต่อการคมนาคมทางเรือและติดต่อค้าขายกับชนชาติอื่นๆ
อาณาเขต
ทิศเหนือ
เป็นพื้นที่สูง
เทือกเขาอาระกันโยมา เทือกเขาตะนาวศรี และเทือกเขาอันนัม
จุดกำเนิดแม่น้ำ
แม่น้ำโขง แม่น้ำแดง แม่น้ำอิรวดี และแม่น้ำสาละวิน
ทิศตะวันตก
ติดกับอินเดีย
เทือกเขานาคา รัฐอัสสัม รัฐมณีปุระ และเทือกเขาฉิ่น
ทิศตะวันออก
ติดปาปัวนิวกินี
หมู่เกาะต่างๆ
ทิศใต้
หมู่เกาะอินโดนีเซีย
เกาะอีเรียน จายา หมู่เกาะในทะเลอาราฟุรา ทะเลบันดา และทะเลดมลุกกะ