Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 วัฒนธรรมอาเซียน (ลักษณะภูมิอากาศ (ลมมรสุมตะวันตกเฉียใต้…
หน่วยที่ 7 วัฒนธรรมอาเซียน
ลักษณะทางภูมิศาสตร์
1.ดินแดนภาคพื้นทวีป (Mainland Southeast Asia)
เมียนมา ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย
ลาวไม่มีทางออกสู่ทะเล (landlocked country)
แหลมยื่นยาวลงทะเล
คาบสมุทรเมียนมา คาบสมุทรมลายู และคาบสมุทรอินโดจีน
2.ดินแดนที่เป็นหมู่เกาะ (Maritime Southeast Asia)
ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน และติมอร์-เลสเต
ลักษณะภูมิอากาศ
ลมมรสุมตะวันตกเฉียใต้
พฤษภาคม-ตุลาคม
ความชุ่มชื้นและฝน
ลมมรสุมตะวันนออกเฉียงเหนือ
พฤศจิกายน-เมษายน
ความแห้งแล้งและลมหนาว
1.เขตชุ่มชื้นกึ่งแห้งแล้ง
เขตภาคพื้นทวีปและตอนกลางของเกาะใหญ่
เกาะชวา เกาะสุมาตรา
2.เขตชุ่มชื้น
คาบสมุทรมลายู หมู่เกาะและเขตชายฝั่งทะเลของเกาะต่างๆ
กลุ่มชาติพันธ์ุ
1.กลุ่มไท-กะได (ไต-ไท)
พูดภาษาไทย-ลาว
มีทั้งหมด 95 ภาษา
มี 62 ภาษา ที่เป็นภาษาไท
2.กลุ่มออสโตรนีเวียน หรือ มาลาโย-โพลีนีเชียน
ตามหมู่เกาะต่างๆ
ภาษาชวา ภาษามาเลย์ ภาษาตกาล็อก ภาษาเซบู ภาษามาลากาซี ภาษามินังกาเบา ภาษาบาหลี ภาษาฟิจิ ภาษาชามัว ภาษาตาฮิติ ภาษาตองกา
3.กลุ่มออสโตรเอเชียติก
พูดภาษามอญ-เขมร
ชนเผ่าดั้งเดิมเรียก ละว้า,ลัวะ
คนที่พูดภาษาไต-ไทจะอพยพเข้ามา
กลุ่มของพวกข่า
เขมร
ขแมร์กรอม
ภาคใต้ของเวียดนาม
เขมรเหนือหรือเขมรสุรินทร์
เขมรกัมพูชา
ชาวเวียด
มอญ
4.กลุ่มซิโน-ทิเบทัน
ใช้ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า
ชาวพม่า กะเหรี่ยง แม้ว เย้า ฉิ่น ยะไข่