Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พรบ ที่ราชพัสดุ พศ 2562 ให้ ณ วันที่ 6 มีนาคม 2562 (หมวดที่ 6 …
พรบ ที่ราชพัสดุ พศ 2562
ให้ ณ วันที่ 6 มีนาคม 2562
หมวดที่ 1
บททั่วไป
กระทรวงการคลัง เป็น
ผู้ถือกรรมสิทธิ์ในที่ราชพัสดุ
กรมธนารักษ์ มีหน้าที่ในการปกครอง ดูแล และบำรุงรักษาที่ราชพัสดุ ส่วนการใช้และการจัดหาประโยชน์ให้เป็นไปตามที่ับัญญัติในพรบ.นี้
อสังหาริมทรัพย์
ไม่เป็น
ที่ราชพัสดุ
ที่ดินรกร้างว่างเปล่า และที่ดินซึ่งมีผู้เวนคืน/ทอดทิ้ง/กลับมาเป็นของแผ่นดินโดยประการอื่นตามกม.ที่ดิน
แต่ไม่รวมถึง
ที่ดินรกร้างว่างเปล่าที่ส่งวนหรือหวงห้ามไว้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ/ไว้เพื่อประโยชน์ของทางราชการตามกม.
อสังหาริมทรัพย์อันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสำหรับพลเมืองใช้/สงวนไว้เพื่อใช้ประโยชน์พลเมืองร่วมกัน
อสังหาริมทรัพย์ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นนิติบุคคลและงค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
อสังหาริมทรัพย์ขององค์การมหาชน
ซึ่งได้มาโดยมีผู้อุทิศให้หรือโดยการซื้อแลกเปลี่ยนจากรายได้หรือทรัพย์สินขององค์การมหาชนนั้น โดยไม่ได้ใช้เงินงบประมาณแผ่นดิน/เงินอุดหนุนจากรัฐบาล
อสังหาริมทรัพย์ของสถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคล
ซึ่งได้มาโดยมีผู้อุทิศให้หรือโดยการซื้อแลกเปลี่ยนจากรายได้หรือทรัพย์สินของสถานศึกษานั้น โดยไม่ได้ใช้เงินงบประมาณแผ่นดิน/เงินอุดหนุนจากรัฐบาล
อสังหาริมทรัพย์ของหน่วยงานของรัฐที่มีกม.จัดตั้ง
ซึ่งได้มาโดยมีผู้อุทิศให้หรือโดยการซื้อแลกเปลี่ยนจากรายได้หรือทรัพย์สินของหน่วยงานของรัฐนั้น โดยไม่ได้ใช้เงินงบประมาณแผ่นดิน/เงินอุดหนุนจากรัฐบาล
อสังหาริมทรัพย์ที่มีกม.เฉพาะบัญญัติ
ยกเว้น
ไม่ให้ถือเป็นที่ราชพัสดุ
ที่ราชพัสดุ
ได้แก่
อสังหาริมทรัพย์อันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินทุกชนิด
ที่ดินที่สงวนหรือหวงห้ามไว้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ
ที่ดินที่สงวนหรือหวงห้ามไว้เพื่อประโยชน์ของทางราชการตามกม.
หมายถึง อสังหาริมทรัพย์อันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินทุกชนิด
หมวดที่ 2
คณะกรรมการที่ราชพัสดุ
ประกอบด้วย
ประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ
กรรมการโดยตำแหน่ง
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
คณะอนุกรรมการ
กรรมการและเลขานุการ + ผู้ช่วยเลขานุการ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
คุณสมบัติของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
สัญชาติไทย
อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปี
ไม่เป็น
บุคคลล้มละลาย/เคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต
ไม่เป็น
คนไร้ค.สามารถ/คนเสมือนคนไร้ค.สามารถ
ไม่เคย
ไม่เคยได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
เว้นแต่
โทษที่กระทำโดยประมาท/ค.ผิดลหุโทษ
ไม่
ดำรงตำแหน่งทางการเมือง สมาชิกท้องถิ่น/ผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการ,ที่ปรึกษา,จนท.พรรคการเมือง
ไม่เคย
ต้องคำพิพากษา/คำสั่งของศาล ให้ทรัพย์ตกเป็นของแผ่นดิน เพราะรวยผิดปกติ
ไม่เคย
ถูกไล่ออก ปลดออก ให้ออกจากงาน เพราะทุจริตต่อหน้าที่
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี อาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้ แต่ติดต่อกัน2วาระไม่ได้
นอกจากพ้นตามวาระแล้ว จะพ้นตำแหน่งเมื่อ
ตาย
ลาออก
รัฐมนตรีให้ออกเพราะบกพร่องต่อหน้าที่/ประพฤติเสื่อมเสีย/หย่อนความสามารถ
ขาดคุณสมบัติ/มีลักษณะต้องห้าม
ในกรณีกรรมการฯ พ้นตำแหน่งก่อนวาระ ให้แต่งตั้งกรรมการฯ
เว้นแต่
วาระเหลือไม่ถึง 120 วันตะไม่แต่งตั้งก็ได้ ให้อยู่ในวาระที่เหลือของคนก่อน
การประชุมคณะกรรมการ
ต้องมีกรรมการมาประชุม
ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
ของจำนวนคณะกรรมการทั้งหมด
จึงจะครบองค์ประชุม
หาก
ประธาน
ไม่สามารถมาประชุม ให้
รองประธาน เป็น ประธานในที่ประชุม
หาก
ประธานและรองประธาน
ไม่สามารถไม่ประชุมได้ ให้ ให้คณะกรรมการประชุม
เลือกกรรมการ 1 คน มาเป็นประธานในที่ประชุม
การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุม
ให้ถือเสียงข้างมาก
กรรมการ 1 คน มี 1 คะแนนเสียง
ให้ประธานในที่ประชุม ออกเสียงเพิ่ม 1 เสียง เป็นเสียงชี้ขาด
ในการประชุม ถ้ามีการพิจารณาเรื่องที่กรรมการมีส่วนได้ส่วยเสีย ให้กรรมการผู้นั้นแจ้งคณะกรรมการทราบ และไม่มีสิทธิเข้าร่วมประชุม
คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่
กำหนดนโยบาย กก.การบริหารจัดการที่ราชพัสดุ
กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดทำทะเบียนที่ราชพัสดุ
เสนอแนะรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวง เพื่อนกำหนดเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการปกครอง ดูแล บำรุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์ที่ราชพัสดุ
กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดทำทะเบียนทรัพย์สินนอกราชอาณาจักร
กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดทำรายงานกก.การปกครอง ดูแล บำรุงรักษา และใช้ที่ราชพัสดุ
ปฏิบัติอื่นตามที่ พรบ.นี้ หรือ กม.อื่นให้เป็นหน้าที่
หมวดที่ 3
การจัดทำและขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุ
กรมธนารักษ์
จัดทำทะเบียนที่ราชพัสดุ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด
เพื่อประโยชน์การขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุ
ให้ดำเนินการดังนี้
เมื่อถอนสภาพจากการเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสำหรับพลเมืองเพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกัน
ให้กรมที่ดินแจ้งกรมธนารักษ์โดยเร็ว เพื่อขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุ
กรณีที่ดินสงวนหรือหวงห้ามไว้เพื่อประโยชน์ของทางราชการตามกม.
ให้ขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุไว้
และเมื่อส่วนราชการเข้าใช้ประโยชน์ที่ดินนั้น
ให้แจ้งกรมธนารักษ์ทรายโดยเร็ว เพื่อแก้ไขทะเบียนราชพัสดุให้ถูกต้อง
กรณีส่วนราชการได้มาซึ่งที่ราชพัสดุนอกเหนือจาก(1),(2)
ให้จัดส่ง
ต้นฉบับหนังสือสำคัญสำหรับที่ดิน เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการได้มาซึ่งที่ราชพัสดุนั้น รวมถึงรายการกก.อสังหาริมทรัพย์
ให้แก่กรมธนารักษ์โดยเร็ว เพื่อขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุ
ก่อนขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุ ให้กรมธนารักษืตรวจสอบการได้มาซึ่งที่ดิน สถานะที่ดินให้ถูกต้อง ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่๕ระกรรมการกำหนด
หมวดที่ 4
การใช้ การเรียกคืน และ
การจัดหาประโยชน์ที่ราชพัสดุ
การใช้ที่ราชพัสดุ
ที่ราชพัสดุ
ให้นำไปใช้เพื่อประโยชน์ในทางราชการ ในการปฏิบัติตามหน้าที่และอำนาจของส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หากส่วนราชการ มีค.ประสงค์จะขอใช้ที่ราชพัสดุ ให้แจ้งวัตถุประสงค์การใช้ที่ราชพัสดุและขอทำความตกลงกับกรมธนารักษ์ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คระกรรมการกำหนด
ส่วนราชการฯซึ่งใช้ที่ราชพัสดุ
มีหน้าที่
ใช้ที่ราชพัสดุให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และความตกลงที่ทำไว้กับกรมธนารักษ์ และยังมี
ดูแลและบำรุงรักษาที่ราชพัสดุให้คงอยู่ในสภาพที่เหมาะแก่การใช้ประโยชน์อยู่เสมอ และระมัดระวังมิให้เกิดการบุกรุกหรือความเสียหายใดๆ แก่ที่ราชพัสดุ
จัดทำรายงานกก.การปกครอง ดูแล บำรุงรักษา และใช้ที่ราชพัสดู เสนอต่อกรมธนารักษ์
ในกรณีที่มีการใช้ รื้อถอน หรือดัดแปลงที่ราชพัสดุ หรือกระทำการใดๆที่กระทบต่อสาระสำคัญ/สถานะของที่ราชพัสดุ
โดยยังเป็นการดำเนินงานตามวัตถุประงสงค์เดิม
ให้ส่วนราชการฯแจ้งกรมธนารักษ์เพื่อแก้ไขรายการทะเบียนที่ราชพัสดุให้ถูกต้อง
ในกรณีที่ส่วนราชการฯ
ได้เปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์การใช้ที่ราชพัสดุ
ให้แจ้งและขอทำความตกลงกับกรมธนารักษ์ใหม่
การเรียกคืนที่ราชพัสดุ
ให้
กรมธนารักษ์เรืยกคืนที่ราชพัสดุจากส่วนราชการฯ
ในกรณีดังต่อไปนี้
เลิกใช้ที่ราชพัสดุ
ครอบครองที่ราชพัสดุโดยมิได้รับอนุญาต
ไม่ปฏิบัติตาม ม.20 / ม.21 (ให้กรมธนารักษ์แจ้งปฏิบัติให้ถูกต้อง -> ให้ชี้แจงเหตุผลที่ไม่ใช้ที่ราชพัสดุภายใน 3 ปี)
ไม่ใช้ที่ราชพัสดุภายในระยะเวลา 3 ปี นับตั้งแต่วันที่ทำความตกลงกับกรมธนารักษ์
เมื่อกรมธนารักได้
เรียกคืนที่ราชพัสดุแล้ว แต่ส่วนราชการฯไม่ส่งคืนที่ราชพัสดุภายในระยะเวลาที่กรมธนารักษ์กำหนด
ให้กรมธนารักษ์เสนอให้คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดต่อไป
การจัดหาประโยชน์ที่ราชพัสดุ
การจัดหาประโยชน์ที่ราชพัสดุ
ต้องเป็นไปเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ทางราชการ
และให้
กระทำได้เพื่อการดังต่อไปนี้
การสนับสนุนการดำเนินภารกิจของส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ
การสาธารณประโยชน์/สาธารณกุศล การสงเคราะห์ข้าราชการ/สวัสดิการของข้าราชการ
กิจการอื่นตามที่คณะกรรมการกำหนด
การจัดหาประโยชน์ที่ราชพัสดุ
ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไง ที่กำหนดในกฎกระทรวง
โดยทำให้เป็นสัญญาเช่า/สัญญาต่างตอบแทนอื่นนอกเหนือจากสัญญาเช่ากับกระทรวงการคลัง
การจัดหาประโยชน์ที่ราชพัสดุจากบุคคลที่
มิใช่
ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ทางการ
โดยต้องคำนึงถึง
(ม.27)
วัตถุประสงค์ในการจัดหาประโยชน์
สภาพและที่ตั้งของที่ราชพัสดุนั้น
อัตราค่าเช่าตามปกติในท้องตลาด
ผลประโยชน์ตอบแทนอื่นนอกเหนือจากค่าเช่าที่จะได้รับ
มูลค่าของอสังหาริมทรัพย์บนที่ดินที่ตก/จะตกเป็นของกระทรวงการคลัง อันเป็นมูลค่าในเวลาที่สัญญาสิ้นสุดลง
การจัดหาประโยชน์ตาม ม.27
หากมีราคาที่ราชพัสดุเกินกว่า 500 ล้านบาท ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
*ในเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง
ราคาที่ราชพัสดุ สำหรับกรณีที่ดินให้ถือราคาประเมินทุนทรัพย์ของอสังหาริมทรัพย์ เพื่อเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวกกม.ที่ดิน
การจัดหาประโยชน์ตามม.27 ที่เริ่มดำเนินการนับตั้งแต่วันที่ พรบ.นี้ใช้บังคับ ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามกม.ว่าด้วยการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ เว้นแต่ กก.โครงสร้างพื้นฐานและบริการสาธารณะที่มูลค่าโครงการตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
หมวดที่ 5
การโอนกรรมสิทธิ์ที่ราชพัสดุและ
การถอนสภาพที่ราชพัสดุ
การโอนกรรมสิทธิ์ที่ราชพัสดุ
การโอนกรรมสิทธิ์ที่ราชพัสดุ
เฉพาะที่ดินที่เป็นสาธารณสมบัติ
ของแผ่นดินที่ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ
ให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ และให้มีแผนที่แสดงเขตที่ดินแนบท้ายพระราชบัญญัติ
ด้วย
การโอนกรรมสิทธิ์ที่ราชพัสดุ
ที่มิใช่
ที่ดินที่เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ
ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข ที่กำหนดในกฎกระทรวง และต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี
เว้นแต่
กรณีตาม ม.32 / กรณีการโอนกรรมสิทธฺ์ที่ราชพัสดุเพื่อประโยชน์ในการดำเนินการตาม
กม.ว่าด้วยการปฏรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม
กม.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์
โครงการของส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ
ที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและกำหนดขั้นตอนและวิธีการโอนไว้เป็นการเฉพาะ
การโอนกรรมสิทธิ์ที่ราชฯ ให้เป็นไปตามกม. / คณะรัฐมนตรีกำหนด
ที่ราชพัสดุที่
มิใช่
ที่ดินที่เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ใช้เพื่อเป็นประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ ซึ่งได้มาจากการบริจาค/มีผู้อุทิศให้
หากไม่ได้นำที่ราชพัสดุไปใช้ประโยชน์
ภายในระยะเวลาที่ผู้บริจาคฯกำหนด
ภายใน 5 ปี นับตั้งแต่วันที่มีการบริจาค
ให้
ผู้บริจาค/ผู้อุทิศให้/ทายาท มีสิทธิขอคืนที่ดินนั้น
การขอคืน
ต้องขอคืนต่อกระทรวงการคลัง
ภายใน 5 ปี
นับตั้งแต่วันพ้นกำหนดตามระยะเวลา โดยยื่นคำร้องขอตามแบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง
ให้คณะกรรมการพิจารณาคำร้องขอคืน และเสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาวินิจฉัย และต้องแจ้งคำวินิจฉัยให้ผู้ยื่นคำร้องขอทราบ
ภายใน 180 วัน
นับตั้งแต่วันที่ได้รับคำร้องขอ
คำวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด
การถอนสภาพที่ราชพัสดุ
การถอนสภาพการเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินของที่ราชพัสดุเฉพาะที่ดินที่สงวน/หวงห้ามไว้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ
ให้กระทำได้เมื่อ
เมื่อเลิกใช้เพื่อประโยชน์/เมื่อสิ้นสภาพการเป็นสาธาณณสมบัติของแผ่นดิน และกระทรวงการคลังไม่ประสงค์จะสงวนหรือหวงห้ามไว้ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะอีกต่อไป ให้
ตราเป็นพระราชกฤษฎีกาและให้มีแผนที่แสดงเขตที่ดินแนบท้ายพรก.นั้นด้วย
การถอนสภาพที่ราชพัสดุที่ทางราชการสงวนหรือหวงห้ามไว้ ให้กระทำได้ เมื่อกระทรวงการคลังไมม่ประสงค์ที่จะสงวนหรือหวงห้ามอีกต่อไป โดยให้
ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
นั้นด้วย
หมวดที่ 6
ที่ราชพัสดุนอกราชอาณาจักร
ที่ราชพัสดุ
คือ อสังหาริมทรัพทย์อันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินทุกชนิดทีรัฐบาลไทยได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์และตั้งอยู่นอกราชอาณาจักร
ม.37 ให้ เอกอัครราชฑูต(1) กงสุลใหญ่(2) หรือผู้ดำรงตำแหน่งที่ได้รับแต่งตั้งให้มีหน้าที่เช่นเดียวกับ(1),(2)
มีหน้าที่
ปกครอง ดูแล บำรุงรักษา และใช้ที่ราชพัสดุ ซึ่งตั้งอยู่ในประเทศหรือเขตค.รับผิดชอบของตน
เว้นแต่
ม.38
ม.38 ในกรณีที่หน่วยงานของส่วนราชการใด ตั้งอยู่นอกราชอาณาจักรและใช้ที่ราชพัสดุ ให้
หัวหน้าหน่วยงานของส่วนราชการ
นั้น ปกครอง ดูแล บำรุงรักษา และใช้ที่ราชพัสดุ
การจัดทำรายงาน
ให้บุคคลตาม ม.37,38 จัดทำรายงานกก.การปกครอง ดูแล บำรุงรักษา และใช้ที่ราชพัสดุที่อยู่ในค.รับผิดชอบ
เสนอต่อกรมธนารักษ์
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด
การจัดทำทะเบียน
ให้กรมธนารักษ์ มีหน้าที่จัดทำทะเบียนที่ราชพัสดุ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด
การโอนกรรมสิทธิ์ที่ราชพัสดุ
ต้องได้รับค.เห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง
หมวดที่ 7
ทรัพย์สินนอกราชอาณาจักร
ทรัพย์สินนอกราชอาณาจักร
สิทธิการครอบครอง/การใช้ประโยชน์ ในอสังหาริมทรัพย์ซึ่งตั้งอยู่นอกราชอาณาจักร ซึ่งได้มาโดย
วิธีการฑูต/เป็นไปตามความตกลงที่รัฐบาลไทยทำไว้กับรัฐบาลตปท.ที่อสังหาริมทรัพย์ตั้งอยู่
การจัดทำทะเบียนทรัพย์สิน
ให้
กรมธนารักษ์
มีหน้าที่จัดทำทะเบียนทรัพย์สินนอกราชอาณาจักร ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด
การปกครอง ดูแล บำรุงรักษา ใช้ จัดทำรายงาน และโอนทรัพย์สินนอกราชอาณาจักร ให้ดำเนินการตามที่บัญญัติไว้ใน หมวด 6 โดยอนุโลม
หมวดที่ 8
บทกำหนดโทษ
ผู้ใดเข้าไปในที่ราชพัสดุเพื่อยึดถือ/ครอบครองทั้งหมด/แต่บางส่วน โดยไม่มีสิทธิชอบด้วยกม.
เข้าไปกระทำการใดๆ อันเป็นกระบวนการใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุโดยปกติสุข
ทำด้วยประการใดๆ อันเป็นการทำลาย/ทำให้เสื่อมสภาพแก่ที่ราชพัสดุ
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน5ปี หรือปรับไม่เกิน1แสนบาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ศาลมีอำนาจสั่งในคำพิพากษา ให้ผู้กระทำความผิด คนงาน ผู้รับจ้าง ผู้แทน และบริวารจองผู้กระทำความผิดออกไปจากที่ราชพัสดุนั้นด้วย
บรรดาเครื่องมือ เครื่องใช้ ยานพาหนะ เครื่องจักรกลใดๆ ซึ่งบุคคลได้ใช้ในการกระทำความผิด
หรือ ได้ใช้อุปกรณ์ให้ได้รับผลในการกระทำความผิดดังกล่าว
ให้ริบเสียทั้งสิ้น โดยไม่ต้องคำนึงว่าเป็นของผู้กระทำความผิด/มีผู้ถูกลงโทษตามคำพิพากษาของศาลหรือไม่
ในกรณีผู้กระทำค.ผิดเป็นนิติบุคคล ถ้าการกระทำค.ผิดของนิติบุคคลนั้น เกิดจาก การสั่งการหรือการกระทำของกรรมการ/ผจก./บุคคลใด ซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินงานของนิติบุคคลนั้น
หรือ ในกรณีบุคคลดังกล่าวมีหน้าที่ต้องสั่งการ/กระทำการและละเว้นไม่สั่งการ/ไม่กระทำการ จนเป็นเหตุให้นิติบุคคลนั้นกระทำค.ผิด
ผู้นั้นต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้สำหรับค.ผิดนั้นๆด้วย
บทเฉพาะกาล
บรรดากฎกระทรวง/ระเบียบที่ใช้บังคับในวัน
ก่อนวันที่พรบ.นี้ใช้บังคับ
ให้
คงใช้บังคับต่อไปเท่าที่ไม่ขัดแย้งกับบทบัญญัติแห่งพรบ.นี้
จนกว่าจะมีกฎกระทรวง/ระเบียนที่ออกตามพรบ.นี้ใช้บังคับ
ในระหว่างที่ยังไม่มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ให้
ให้คณะกรรมการโดยตำแหน่ง
เพื่อปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการตามพรบ.นี้ไปพลางก่อน จนกว่า
จะมีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
แต่ต้องไม่เกิน 120 วัน นับตั้งแต่วันที่ พรบ.นี้ใช้บังคับ
ความหมาย+ภาพรวม
พรบ. บังคับใช้วันที่ 4 กรกฎาคม 2562
ให้ ณ วันที่ 6 มีนาคม 2562
ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 9 มีนาคม 2562
ให้ยกเลิก พรบ. ที่ราชพัสดุ 2518 มี 8 หมวด 50 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล
ผู้รักษาการตาม พรบ. คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง นาย อุตตม สาวนายน
ผู้สนองบรมราชโองการ คือ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ส่วนราชการ = ส่วนราชการตามกม.ว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานที่รับผิดชอบงานธุรการขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ/ศาล/องค์กรอุยการ/รัฐสภา
หน่วยงานของรัฐ = รัฐวิสาหกิจ องค์การของรัฐบาล องค์การมหาชน องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานในกำกับของรัฐ หน่วยงานอื่นที่มีกม.จัดตั้ง แต่ไม่รวมถึงส่วนราชการ
คณะกรรมการ = คณะกรรมการที่ราชพัสดุ
รัฐมนตรี = รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพรบ.นี้
พรบ.ที่ราชพัสดุ พ.ศ.2518 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน
มีบทบัญญัติบางประการที่ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน
ทำให้การบริหารจัดการที่ราชพัสดุไม่สัมฤิทธิ์ผลเท่าที่ควร
ขาดความคล่องตัวในการจัดหาประโยชน์ที่ราชพัสดุ
ไม่มีหน่วยงานใดทำหน้าที่ในการปกครอง ดูแล และบำรุงรักษาที่ดิน (ที่สงวน/หวงห้ามไว้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะหรือเพื่อประโยชน์ของทางราชการตามกม.) ทำให้เกิดการบุกรุกที่ดินดังกล่าว
ขาดหลักเกณฑ์ในการบริหารจัดการที่ราชพัสดุนอกราชอาณาจักรและทรัพย์สินนอกราชอาณาจักร
จึงสมควรปรับปรุงพรบ.ดังกล่าว เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการบริหารจัดการที่ราชพัสดุให้เหมาะสมสอดคล้องกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และนโยบายของรัฐบาล
โดยกรณีจำเป็นต้องให้มีคณะกรรมการที่ราชพัสดุ เพื่อทำหน้าที่ในการกำหนดนโยบายกก.การบริหารจัดการที่ราชพัสดุ เพื่อให้การใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ทางราชการ รวมทั้งกำหนดโทษอาญาสำหรับกรณีที่มีการบุกรุกที่ราชพัสดุ
เพื่อเป็นการรักษาที่ดินของรัฐไว้เพื่อใช้ประโยชน์ของทางราชการต่อไป จึงจำเป็นต้องมีพรบ.นี้
เหตุผลในการประกาศใช้พรบ.นี้ คือ