Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pneumonia
ดาวน์โหลด (11) (การพยาบาล (1 ให้ยาละลายเสมหะและยาขยายหลอดลมตาม…
Pneumonia
การพยาบาล
-
2 กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้รับ น้ำเพียงพอวันละ 2000-3000 ML โดยเฉพาะเมื่อผู้ป่วยมีไข้สูงและน้ำจะช่วยละลายเสมหะ
3 หายใจออกช้าๆทางปากด้วยการห่อปากฝึกบริหารการหายใจทุกวันวันละ 2 ครั้งเช้าเย็นครั้งละประมาณ 10-15 นาที
-
-
-
7ให้ออกซิเจนให้อาหารและน้ำอย่างเพียงพอโดยให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารทีละน้อยแต่บ่อยครั้งกระตุ้นให้รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย
สาเหตุ
ปอดอักเสบจากการติดเชื้อ
แบคทีเรียหรือ เชื้อไวรัสหรือเชื้อราจากมูลนกหรือซากพืชซากสัตว์ โดยเชื้อโรคเข้าสู่ปอดทำให้เกิดการอักเสบของถุงลมปอดและเนื้อเยื่อบริเวณโดยรอบ
-
พยาธิสภาพ
1.ระยะบวมคั่ง (stage of congestion or edema) เมื่อเชื้อโรคเข้าสู่ปอดจะแบ่งตัวอย่างรวดเร็วร่างกายจะมีปฏิกิริยาตอบสนองมีเลือดมาข้างบริเวณที่มีการอักเสบหลอดเลือดขยายตัวมีแบคทีเรียเม็ดเลือดแดงไฟบินและเม็ดเลือดขาวออกมากินแบบทีละนิดทีเวลา 24 ถึง 48 ชั่วโมงหลังจากเชื้อเข้าสู่ปอด
3.ระยะเนื้อปวดแข็ง (stage of consolidation) ระยะแรกจะพบว่ามีเม็ดเลือดแดงและไฟบินอยู่ในถุงลมเป็นส่วนใหญ่หลอดเลือดที่ผนังถุงลมปอดขยายตัวมากขึ้นทำให้เนื้อปรอทสีแดงจัดใครตับสดในรายที่มีอาการอักเสบรุนแรงจะมีอาการอักเสบลุกลามไปถึงแล้วปลอดด้วยเวลาต่อมาจะมีจำนวนเม็ดเลือดขาวเข้ามาแทนที่แสดงในถุงลมมากขึ้นเพื่อกินเชื้อโรคระยะนี้ถ้าตัดเนื้อปอดมาดูจะเป็นสีเทาปนดำเนื่องจากมีน้องเซลล์โพลิเมอร์ไฟและไฟท์บินหลอดเลือดที่ผนังถุงลมปอดก็จะหดตัวเล็กลงระยะนี้กินเวลา 3 ถึง 5 วัน
2.ระยะปอดฟื้นตัว (stage of resolution) เมื่อร่างกายสามารถต้านทานโรคไว้ได้เม็ดเลือดขาว สามารถทำลายแบคทีเรียที่อยู่ในถุงลมปอดได้หมดจะมีเอนไซม์ออกมาละลายไฟบินเม็ดเลือดขาวได้น้องก็ถูกขับออกมาเป็นเสภามีลักษณะเป็นสีสนิมเหล็กเพราะมีเลือดค้างอยู่เนื้อปอดมักกลับคืนสู่สภาพปกติได้การอักเสบเยื่อหุ้มปอดหายไปเลยพังผืดขึ้นระยะฟื้นตัวในคนหนุ่มสาวได้และเด็กเล็กหรือมากแต่คนในสมัยอยุธยาระยะฟื้นตัวในประมาณ 5 วันผู้ใหญ่ 2 สัปดาห์แต่ไม่ควรเกิน 6 สัปดาห์ถ้าเกินให้นึกถึงมีรูปอื่นๆเป็นพื้นฐานเดิมเช่นมะเร็งปอดหรือหลอดลมเป็นต้น
การวินิจฉัย
-
ตรวจร่างกาย
-
เคาะปอดได้ยินเสียงทึบ มีอาการขาดออกซิเจนเช่นหายใจเร็วหอบเหนื่อยเหงื่อออกมากเขียวคล้ำ ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนลดลงน้อยกว่า 95 %
-
Lab
-
-
ตรวจและเพาะเชื้อจากเสมหะและเลือด ถ่ายภาพรังสี ทรวงอกน้ำในช่องของเยื่อหุ้มปอด (Pleural effusion) เกิดฝ้าขาวในปอด(Infiltrate)
-
อาการและอาการแสดง
มักเกิดขึ้นทันทีทันใดด้วยไข้สูงหนาวสั่นโดยเฉพาะในระยะเริ่มแรกและหายใจหอบ มีอาการหายใจหอบเหนื่อย ระยะแรกอาจมีอาการไอแห้งๆไม่มีเสมหะต่อมามีไอเสมหะข้นออกเป็นสีเหลืองสีเขียวสีสนิมเหล็กหรือว่ามีเลือดปน มีอาการใจสั่นขณะไอในเด็กโตและผู้ใหญ่อาจมีอาการเจ็บแป๊บในหน้าอกเวลาหายใจเข้าหรือเวลาไอแรงๆบางครั้งอาจมีอาการปวดร้าวที่หัวไหล่สีข้างหรือท้อง
ปัจจัยเสี่ยง
การรับเชื้อ
- การแพร่กระจายของเชื้อทางกระแสโลหิต
-
- การสำลักเชื้อที่สะสมอยู่บริเวณทางเดินหายใจส่วนบนลงสู่ปอดโดยผู้ป่วยติดเชื้อที่อวัยวะอื่นมาก่อน
-
-
-
ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง เช่น ผู้ติดเชื้อ HIV ผู้ป่วยโรคเอดส์ผู้ที่รับการปลูกถ่ายอวัยวะผู้ป่วยมะเร็งระหว่างการให้เคมีบำบัดหรือได้รับยากดภูมิคุ้มกันเป็นเวลานาน
ความหมาย
ปอดบวมหรือปอดอักเสบเป็นกระบวนการอักเสบของถุงลมปอดทำให้เหนือปอดแข็งและมีหนองอุดในถุงลมปอดมักพบในคนที่ไม่แข็งแรง
- เด็กที่สำลักน้ำมันเข้าปอด
-
-
-
-
-
การรักษา
-ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพของผู้ป่วย ฟังเสียงหายใจ ความเจ็บปวดผลการห้องปฏิบัติการที่ผิดปกติควรรีบแรงงาน แพทย์เพื่อทำการรักษาทันที
- จัดท่านอนศีรษะสูงอย่างน้อย 30 องศาเพื่อให้ปอดขยายตัวหายใจสะดวกลดความเสี่ยงต่อการสำลักอาหาร
- ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามสภาพอาการของผู้ป่วยโดยให้ความชื้นทางจมูกหรือหน้ากาก
- ให้ยาปฏิชีวนะในกรณีการติดเชื้อแบคทีเรีย
-