Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โจทย์ที่ 2 การดำเนินการแก้ไขปัญหาจนสำเร็จ (การวางเเผน (วัตถุประสงค์และเป้า…
โจทย์ที่ 2 การดำเนินการแก้ไขปัญหาจนสำเร็จ
ขั้นตอน (ชุลกีรดา ด่านยุทธศิลป์, 2560)
3.การตั้งวัตถุประสงค์
การทบทวนอุปสรรคเเละข้อจำกัด
การเลือกปัญหาที่สำคัญ
การกำหนดกิจกรรมหรือกลยุทธ์
เเนวทางหรือกลวิธีหลัก
เเนวทางหรือกลวิธ๊สนับสนุน
การวิเคราะห์สถานการณ์
การประเมินผล
การวางเเผน
เป็นการปฏิบัตั งานตามแผนงานที่ ได้วางไว้ ให้บรรลุวัตถประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดภายในระยะเวลาและทรัพยากรที่มีอยู่ เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพชมุ ชน (กรีดา ไกรนุวัตร และรักชนก คชไกร, 2559)
กระบวนการมีลักษณะเป็นลายลักษณอักษรที่กำหนดทิศทางและขั้นตอนในการปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุตามวัตถประสงค์ละเป้าห มายตามเวลาที่กำหนดโดยมีทรัพยากรที่มีอยู่เป็นตัวกำหนดการดำเนินกจิกรรมต่างๆ (ศิวพร อึ้งวัฒนา, 2560)
ผู้มีส่วนร่วมในการเเก้ไขปัญหา (กีรดา ไกรนุวัตร เเละรักชนก คชไกร, 2559)
โรงพยาบาลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรียน วัด
หน่วยงานสาธารณสุขเเละสถานพยาบาลอื่นๆที่มีส่วนเกี่ยวข้องการดูเเลสุขภาพของชุมชน
นักธุรกิจ ชุมชน บริษัท โรงงาน
อาสาสมัคร ประชาสังคม กลุ่มทางสัมคม เเละองค์กรอื่นๆที่อยู่ในชุมชน
ลักษณะสำคัญของการวางแผน (ศิวพร อึ้งวัฒนา, 2560)
1.เป็นแนวทางปฏิบัติ ที่สำคัญ ให้ผู้ปฏิบัติ เรียนรู้วิธีการทำงานล่วงหน้าก่อนลงมือปฏิบัติจริง
2.เป็นตัวกำหนดทิศทางกรอบสำหรับการตัดสนใจในการปฏิบัติ งานป้องกัน มิให้เกิดการตัดสนใจแบบเฉพาะหน้าเพื่อแกไขปัญหา
3.เป็นกระบวนการที่ทำให้ผู้บริหารหรือผปฏิบัติมองเห็นจุดหมายในอนาคต
4.เป็นแนวทางให้ผู้ปฏิบัติ หรือผู้บริหารเห็นปัญหาอุปสรรคและรวมกัน หาแนวทางแก้ไขรวมถึงลดภาวะเสี่ยงหรือป้องกัน มิใหเกิดปัญหา
5.เป็นหลักการให้เห็นถึงความเป็นไปได้ในการปฏิบัติ งานให้บรรลุตามเป้าหมายหรือ วัตถุประสงค์
เป็นการปฏิบัตืงานตามเเผนงานที่ได้วางไว้ให้บรรลุวัตถุประสงค์เเละเป้าหมายที่กำหนดภานในระยะเวลาเเละทรัพยากรที่มีอยู่เพื่อเเก้ไขปัญหาสุขภาพ (กีรดา ไกรนุวัตร เเละรักชนก คชไกร, 2559)
ตัวชี้วัด (กีรดา ไกรนุวัตร และรักชนก คชไกร, 2559)
วัดระดับความสำเร็จโดยนํามาเปรียบเทียบกับ เป้าหมายหรือเกณฑ์ความสำเร็จในตัวชี้วัด
ครอบคลุมและตอบสนองต่อวัตถุประสงค์
หลักการกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ครอบคลุม ทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ประเภทของตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
วัตถุประสงค์และเป้าหมายใน การตั้งตัวชี้วัด
แสดงการกระทำที่เกิดขึ้น ใช้วัดความสำเร็จของกิจกรรมที่ดำเนินการ
แสดงผลสำเร็จตัวชี้วัดที่แสดงถึงผลสัมฤทธิ์ของกิจกรรม
แสดงผลที่่ได้รับใช้วัดผลงานเมื่อโครงการเสร็จสิ้น
ประสิทธผลใช้วัดผลผลติตามวัตถุประสงค์หรือ เป้าหมายที่ต้องการ
แสดงปัจจัยนําเขาใช้วัดเมื่อดำเนินการพัฒนา
ผลกระทบใช้วัดผลที่เกิดขึ้นจากนโยบายแผนงาน
ประสิทธิภาพวัดผลงานที่เเสดงค่าใช้จ่ายต่อหน่วยของผลผลิต
การเขียนตัวชี้วัดความสำเร็จ
หลักการเขียน คือต้องมีปรมาณ คุณลัก ษณะ เวลา กลุ่ม เป้าหมาย และสถานที่
กำหนดค่าของตัวชี้วัด ได้แก่ จำนวนร้อยละ สัดส่วน อัตราส่วน อัตราและค่าเฉลี่ย
กำหนดประเด็นตัวชี้วัดขึ้นอยู่กับวัตถประสงค์ของแผนงาน
การวางแผนแก้ไขปัญหาอนามัยชุมชน
(พรฤดี นิธิรัตน และสายใจ จารุจิตร, 2559)
แผนแม่บทหรือแผนงานหลัก
องคประกอบ
ปัญหาและข้อมูลสนับสนุนที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดปัญหานั้น
วัตถุประสงค์
แนวทางแก้ไขปัญหานี้กรรม
กิจกรรม
การประเมินผล ระบุวิธีการ และเกณฑก ารประเมินผล
เกิดจากการรวมแผนทั้งหมดภายในองคกรเข้าไวด้วยกัน
แผนงานโครงการ
ประเภทของแผนงาน
(ศิวพร อึ้งวัฒนา,2560)
แบ่งตามสายการบังคับบัญชา
แผนระดับกระทรวง
แผนระดับกรมหรือสำนักงานเป็นแผนย่อยของแผนระดับกระทรวง
แผนระดับชาติ
แผนระดับกองหรือระดับฝ่ายในหน่วยงานราชการที่รองลงมาจากกรม
แบ่งตามระยะเวลา
แผนระยะสั้น
ไม่เกิน 1-3 ปี นิยมเรียกว่า แผนตามปีงบประมาณ
แผนระยะปานกลาง
มากกว่า 3 ปี ถึง 5 ปี
แผนระยะยาว
มากกว่า 5 ปีขึ้นไป
แบ่งตามสถานที่หรือขอบเขตที่จะนำแ
ผนไปดำเนินงาน
แผนระดับภาค
แผนระดับจังหวัด
แผนระดับชาติ
แผนระดับอำเภอ
แผนระดับตำบล
ตามการใชประโยชน์
แผนระดับนโยบาย
แผนระดับปฏิบัติการ
แบ่งตามหลักเศรษฐศาสตร์
แผนระดับมหาภาคเป็นแผนระดับสูงหรือแผนใหญ่
แผนรายสาขาเป็นแผนเฉพาะเจาะจงแยกตามสาขา