Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โจทย์ที่ 2 การจัดการปัญหาใชุมชน (การจัดลำดับปัญหาชุมชน (การทำประชาคม…
โจทย์ที่ 2 การจัดการปัญหาใชุมชน
ปัญหาชุมชน
ด้านสิ่งแวดล้อม
ความไม่เจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยี
สุขภิบาล (ความสะอาด)
การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ด้านสังคม
เศรษฐกิจตกต่ำไม่เจริญก้าวหน้า
การศึกษาต่ำ/การเรียนนอกนอกรร. (กศน.)
กิจกรรม/ประเพณีชุมชน
ความปลอดภัย/ความสัมพันธ์
ด้านสุขภาพ
พฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาพ
โรคเรื้อรัง
เจ็บป่วยทั่วไป โรคมะเร็ง
การเข้าถึงระบบบริการสาธารณสุข
ด้านจิต
ความเครียด
วิตกกังวล
ทราบอย่างไรว่าเป็นปัญหา?
การเปรียบเทียบข้อมูล CI/HI/BI การประเมินความชุกลูกน้ํายุงลาย
CI = จน.ภาชนะที่พบลูกน้ำ × 100 / จน.ภาชนะที่สำรวจ
ปลอดภัย = 0
เสี่ยงสูง 5-9
เสี่ยงต่ำ < 5
เสี่ยงสูงมาก > 10
BI = จน.ภาชนะที่พบลูกน้ำ × 100 / จน.หลังคาเรือนที่สำรวจ
BI > 50 มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดการแพร่โรค
BI < 5 มีความเสี่ยงต่ําที่จะเกิดการแพร่โรค
HI = จน.หลังคาเรือนที่พบลูกน้ำ × 100 / จน.หลังคาเรือนที่สำรวจ
เสี่ยงต่ำ < 10
เสี่ยงสูง 10 - 50
ปลอดภัย = 0
เสี่ยงสูงมาก > 50
เปรียบทียบกับระบาดวิทยา ดัชนีอนามัย (Health Index)
อัตรา (Rates)
a/(a+b) x K (K นิยมใช้ 1,000 หรือ 100,000)
a = จำนวนคนป่วย b = คนทั้งหมดในชุมชน
สัดส่วน (Proportion)
a / (a+b+c+...)
a+b+c,.. = จำนวนคนที่ป่วยโรคแต่ละโรคในชุมชนหรือจำนวนรวมกัน
a = จำนวนย่อยหรือคนที่เป็นโรค
อัตราส่วน (Ratio)
A/Y = X:Y หรือ X/Y x K
Ex : เพศชาย 4,850 คน เพศหญิง 9,550 คน อัตราส่วนชาย : หญิง = 4,850 /9,550 = 1/1.97 หรือ 1 : 2
เกณฑ์ความจำเป็นพื้นฐาน (BMN)
ข้อมูลในระดับครัวเรือนที่แสดงถึงสภาพความจำเป็นของคนในครัวเรือนต่างๆ
ฉบับที่ 9 มีทั้งหมด 6 หมวด 37 ตัวชี้วัด
เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health For ALL)
กลุ่มที่ 1 การบรรลุ จปฐ.
ใช้เกณฑ์การบรรลุ จปฐ.
กลุ่มที่ 2 การพึ่งพาตนเอง
ต้องผ่าน 3 ก. 1 ข. 3 ส.
กลุ่มที่ 3 การเข้าถึงบริการ
หลักประกันการรักษาพยาบาลฟรีหรือมากกว่า 70% ของปชช.ทั้งหมด
สถานพยาบาลพัฒนาเข้าเกณฑ์มาตราฐาน พบส.
เกณฑ์เมืองไทยแข็งแรง (Health Thailand)
ตัวชี้วัดอำเภอ/จังหวัด ความสำเร็จ > 80%
ตัวชี้วัดหมู่บ้าน/ตำบล ความสำเร็จ > 80%
ใช้หลัก 5D
Disability
ให้ความสนใจจำนวนที่เกิดความพิการจากปัญหาหรือโรคนั้นๆ
แนวโน้มของโรคที่เกิดขึ้นเป็นสาเหตุของความพิการหลงเหลือในชุมชน
Disease
จำนวนผู้ป่วยจากโรคหรือปัญหาสุขภาพนั้นๆโดยมุ่งสนใจอัตราป่วยในชุมชน
Discomfort
พิจรณาปัญหาสุขภาพที่ก่อให้เกิดความไม่สุขสบายของคนในชุมชน
Dissatisfaction
ให้ความสำคัญกับความรู้สึกไม่พึงพอใจของปชช.ในชุมชนต่อปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นและต้องการแก้ไข
Death
พิจารณาจากจำนวนคนที่เสียชีวิตจากโรคหรือปัญหานั้นๆในชุมชน
แบบวัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลก WHO
แต่ละข้อเป็นมาตรส่วนประเมินค่า (rating scale) 5 ระดับ
การให้คะแนน
61-95 คะแนน = คุณภาพชีวิตปานกลาง
26-60 คะแนน = คุณภาพชีวิตไม่ดี
96-130 คะแนน = คุณภาพชีวิตดี
แบ่งเป็นคุณภาพชีวิต 4 ด้าน
ด้านจิตใจ
ด้านสัมพันธสภาพทางสังคม
ด้านสุขภาพร่างกาย
ด้านสิ่งแวดล้อม
เกณฑ์การศึกษาขั้นพื้นฐาน
กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติได้กำหนดให้บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับจำนวนเก้าปี
โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดเข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่สิบหก เว้นแต่จะสอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาภาคบังคับ
กระบวนการกลุ่ม
ประชาชนหรือกลุ่มตัวแทนม่ความรู้เกี่ยวกับปัญหาดี มีส่วนร่วม ใช้ร่วมกับประชาคม
listing teachnigue
ประชาชนเสนอปัญหา
ranking teachnigue
ประชาชนลงคะแนนมีความเป็นประชาธิปไตย
การหาสาเหตุของปัญหา
PRECEDE-PROCEDE MODEL
P = Predisposing (ปัจจัยนำ)
ความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อ ค่านิยม
เป็นปัจจัยหลักที่เป็นองค์ประกอบที่สำคัญอยู่ภายใต้ตัวบุคคล
R = Reinforcing (ปัจจัยเสริม)
การสนับสนุนของบุคคล สื่อต่างๆ นโยบาย/กฎ/ระเบียบ
การกระตุ้นเตือน ยกย่องชมเชย การให้กำลังใจ การตำหนิ ลงโทษ
ปัจจัยที่แสดงให้เห็นว่าพฤติกรรมสุขภาพหรือการปฏิบัติได้รับการสนับสนุนหรือไม่เพียงใด
E = Enabling (ปัจจัยเอื้อ)
ทักษะ แหล่งทรัพยากร ความสามารถเข้าถึง
ปัจจัยที่ทำให้บุคคลเกิดพฤติกรรมสุขภาพ
วิเคราะห์หาสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพที่เน้นการนำไปใช้ทั้งหมดกระบวนการ
วิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุอย่างเป็นระบบ
วิธีแตกกิ่ง (Tree diagram)
สาเหตุนั้นเป็นเดียวกันกับสาเหตุอื่นที่มีมาก่อน
สาเหตุนั้นอยู่นอกเหนือความรับผิดชอบของหน่วยงาน
สาเหตุนั้นเป็นสิ่งเรื่องของธรรมชาติ พ้นวิสัยที่จะแก้ไข
หาความสัมพันธ์เชื่อมโยงของสาเหตุ (Oval diagram)
เชื่อมโยงของสาเหตุสืบเนื่องมาจากวิธีแตกกิ่ง
วิเคราะห์เกี่ยวโยงความสัมพันธ์ของแต่ละสาเหตุ
ช่วยให้การแก้ไขปัญหามีประสิทธิภาพ
ปัจจัยสามทางระบาดวิทยา
หาความสัมพันธ์ของสาเหตุหรือปัจจัยที่เกี่ยวข้องมาแสดงในรูปของแผนผัง
ศึกษาสาเหตุและปัจจัยการเกิดโรค
Host มนุษย์
Agent ตัวก่อโรค
Environment สิ่งแวดล้อม
ศึกษาการกระจายของโรค
Person บุคคล
Place สถานที่
Time เวลา
การเขียนปัญหาชุมชน
ควรครอบคลุมปัญหาทั้งด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อม สังคม แต่ไม่ต้องจัดกลุ่ม
ใน 1 ปัญหา ควรประกอบด้วย
ปัญหา หรือ สถานการณ์ เช่น โรคความดันโลหิตสูง
กลุ่มอายุที่เป็น เช่น อายุ 40 ปี ขึ้นไป
จำนวน เช่น ร้อยละ 54.2
สาเหตุ (เนื่องจาก)
ปัญหาควรเป็นผลลัพธ์ที่ได้
ปัญหาควรมีความเฉพาะเจาะจง
การวินิจฉัยที่พบในการดูแลชุมชน
ความเสี่ยงของชุมชน
บ่งชี้ให้ทราบว่าหากไม่แก้ไขในอนาคตเป็นปัญหาแน่นอน
Ex.ผู้สูงอายุในชุมชนเสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้หวัดใหญ่ เนื่องจากไม่ได้ฉีดวัคซีนป้องกันร้อยละ 30
ภาวะสุขภาพดี
บ่งชี้ให้ทราบว่ามีการพัฒนาภาวะสุขภาพให้อยู่ในระดับที่ดีขึ้น
Ex.ปชช.ในชุมชนมีการออกกำลังกายมากขึ้นร้อยละ 60 เนื่องจากมีนโยบายจัดสถานที่ออกกำลังกายหมู่บ้านละ 1 แห่ง
ปัญหาที่แท้จริงของชุมชน
เกี่ยวข้องกับปัญหาสุขภาพที่พบอาจเป็นปัญหาที่คุมคามชีวิต
Ex. Pt.เป็นเบาหวานมีอัตราเกิดภาวะแทรกซ้อนร้อยละ 36
การจัดลำดับปัญหาชุมชน
วิธีของ John Hanlon
การคุกคามของปัญหา (B)
ความรุนแรงของปัญหา
การสูญเสียทางเศรษฐกิจ
ความเร่งด่วนที่ต้องแก้ปัญหา
ความเกี่ยวข้องของปชช.ต่อปัญหานั้นๆ
ประสิทธิภาพการปฏิบัติการแก้ปัญหา (C)
20-39% = 4
40-59% = 6
1-19% = 2
60-79% = 8
ไม่มีเลย = 0
80-100% = 10
ขนาดของปัญหา (A)
พิจารณาขนาดการเกิดโรคจากอัตรอุบัติการณ์
อัตราความชุกของโรค
ไม่มีเลย = 0
80-100% = 10
1-19% = 2
40-59% = 6
20-39% = 4
60-79% = 8
ข้อจำกัด (D)
P = ความเหมาะสมของกิจกรรมกับปัญหา
E = เศรษฐกิจ
A = การยอมรับ (ไม่ยอมรับ 0 ยอมรับ 1)
R = ทรัพยากร
L = กฎหมาย
สูตรคำนวณ
BPR = (A+B)xC/3
OPR = [(A+B)xC/3]xD
วิธีของกระทรวงสาธารณะสุข มหาวิทยาลัยมหิดล
ความรุนแรงของปัญหา
Disease เป็นโรค = 3
Disability พิการ = 4
Discomfort ไม่สะดวก = 2
Death ตาย = 5
Dissatisfy เจ็บป่วยเล็กน้อย = 1
ความเป็นไปได้ในการแก้ปัญหา
ยากมาก 1
ยาก 2
ไม่มีทางทำได้เลย 0
ง่าย 3
ง่ายมาก 4
ขนาดของปัญหา
26-50% = 2
51-75% = 3
1-25% = 1
76-100% = 4
วิเคราะห์จากจน.ประชากรที่ได้รับปัญหา
ไม่เลย = 0
ความสนใจของชุมชน
26-50% = 2
51-75% = 3
1-25% = 1
76-100% = 4
ไม่เลย = 0
คะแนน 0-4 ในแต่ละองค์ประกอบมารวมกัน
นำมา + จะเห็นคะแนนแตกต่างน้อยกว่า
นำมา x จะเห็นความแตกต่างสูงกว่าแก้ไขก่อน
วิธีขององค์กรอนามัยโลก WHO
ขนาดของปัญหา
ความชุกของการป่วยตาย
ความรุนแรงของโรค
การแพร่กระจาย
การขาดแคลนผู้บริการ
ความยอมรับของสังคม
ปัญหาของกลุ่มและพื้นที่
ผลกระทบต่อกลุ่มคน
ความสำคัญของพื้นที่และการยอมรับ
เทคโนโลยีในการแก้ปัญหา
บุคคลและเงินพร้อมที่จะนำไปใช้หรือไม่
ผู้ปฏิบัติทั่วไปใช้เป็นเพียงใด
มีวิธีที่ได้ผลในการแก้ปัญหา
แก้ปัญหาได้หลายด้านหรือไม่
ความเป็นไปได้ในการสนับสนุนของความสนใจของหัวหน้า
ความสอดคล้องกับแผนนโยบายของประเทศและพื้นที่
ความเป็นไปได้ในการสนับสนุน
ให้คะแนน 0-4 บวกกันแต่ละองค์ประกอบ
วิธีของ Stanlop and Lancaster
องค์ประกอบ
การดำเนินการแก้ไขปัญหา
ความสามารถของพยาบาลในการแก้ปัญหา
ความตระหนักการรับรู้ถึงปัญหา
ความพร้อมของทรัพยากร
ความรุนแรงหากไม่ได้รับการแก้ไข
ประสิทธิผลของการแก้ไขปัญหาโดยเร็ว
เกณฑ์
น้ำหนักของหลักเกณฑ์ 0-10 คะแนน
คะแนนแต่ละปัญหา 0-10 คะแนน
วิธีของกรมการปกครอง
ความเสียหายในอนาคต
การยอมรับร่วมกันของชุมชน
ความร้ายแรงและเร่งด่วน
เกณฑ์
ต่ำมาก = 1
ต่ำ = 2
ปานกลาง = 3
สูง = 4
สูงที่สุด = 5
ขนาดกลุ่มชุมชนที่ถูกกระทบ
ปัญหาใดได้คะแนนมากสุดปัญหานั้นสำคัญที่สุด
การวิเคราะห์คู่อันดับ
ภายใต้ 2 เงื่อไขที่ชุมชนเห็นว่าสำคัญ
สูงกับต่ำ
มากกับน้อย
ตารางคู่อันดับ
เช่น ความสำคัฐกับความเป็นไปได้ของปัญหา
วิเคราะห์ปัญหาว่าควรอยู่ในช่องใด นำปัญหาใส่ตาราง
วิธีกระบวนการกลุ่ม
ชุมชน ผู้นำ ร่วมกกันตัดสินใจ อกเสียง
listening technique
ranking technique
การทำประชาคม
กระบวนการมีส่วนร่วมของปชช.ที่มีวัตุประสงค์หรือสนใจเรื่องเดียวกัน
ลักษณะ
อย่างเป็นทางการ
การจัดเวทีหรือการจัดประชุม
อย่างไม่เป็นทางการ
การสนทนากลุ่มเล็กตามศาลา
การพบปะพูดคุยบ่อยครั้งหรือครั้งคราว
การรวมตัวของสมาชิกในชุมชนเพื่อร่วมการทำกิจกรรมต่างๆ
ขั้นเตรียมการ
ศึกษาข้อมูลชุมชน
กำหนดทีมดำเนินงาน
ควรมีผู้นำชุมชนเข้าร่วมด้วย
ผู้ดำเนินการในการจัดเวที
ผู้กระตุ้น
ผู้สร้างบรรยากาศ
ผู้สังเกตการณ์
ผู้อำนวยความสะดวก
การกำหนดวัตถุประสงค์
การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย
ระยะเวลาในการจัดเวทีประชาคม
ประเด็นเนื้อหาในการจัดเวทีประชาคม
เป็นเวทีของการพูดคุยแลกเปลี่ยนข้อมูลความคิดหรือปัญต่างๆในชุมชน
ขั้นดำเนินการ
2.แจ้งวัตถุประสงค์และข้อตกลงร่วมกันในการประชุม
3.กำหนดความคาดหวัง
1.สร้างความคุ้นเคย
ละลายพฤติกรรม
แนะนำตัว สร้างสัมพันธภาพ
4.การให้การศึกษาชุมชน
5.ค้นหาปัญหาร่วมกัน
6.ค้นหาความหวังและโอกาส
7.ค้นหาสิ่งดีในชุมชนเพื่อพัฒนากำหนดเป้าหมายการพัฒนา
8.ร่วมกันวางแผน
9.เลื่อกลุ่มแกนนำเพื่อรับผิดชอบดำเนินการตามโครงการ
ขั้นนการประเมินและติดตามผล
นำผลงานที่ปรากฎระหว่างทำประชาคม จัดเข้าแฟ้มข้อมูล
แสดงผลการดำเนินการเวทีประชาคมให้ผู้เข้าร่วมปชช.หรือผู้ที่สนใจทราบ
สรุปผลการเวทีประชาคม และประเมินจุดเด่นจุดด้อยสิ่งควรปรับปรุง
ประสานภาคองค์กรต่างๆเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน
กระตุ้นให้เกิดการจัดเวทีประชาคมครั้งแรก
สิ่งที่ควรคำนึง
ต้องศึกษาชุมชนให้ชัดเจนทุกแง่มุม จะนำไปสู่การกำหนดประเด็นเนื้อหา
ปรับประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมตาม ความถนัดอความสามรถ ของผู้จัดและกลุ่มเป้าหมาย
ไม่ว่าจะดำเนินการในระดับใดจะต้องยึดขั้นตอนตามกระบวนการพัฒนาชุชน
ให้การศึกษาชุมชน
การศึกษาชุมชน
การวางแผน
การดำเนินการ
การติดตามประเมินผลต้องยึดหลักมีส่วนร่วม
ใช้ระยะเวลาในการดำเนินการนาน
ต้องใช้ทีมงานหลายคนในการจัดเวทีประชาคม
นางสาวเฉลิมขวัญ เก็บดี เลข 10 ปี4A รหัส 593601022