Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6รูปแบบและกลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา (แนวคิดพื้นฐานของนวัตกรรมท…
บทที่ 6รูปแบบและกลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
ความหมายกลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
การนำสิ่งใหม่ ๆ อาจเป็นแนวความคิด หรือ สิ่งประดิษฐ์ใหม่
ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทันสมัย และได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ทั้งยังช่วยประหยัดเวลาและแรงงานได้ด้วย
องค์ประกอบของนวัตกรรม
เป็นสิ่งใหม่ :
เน้นใช้ความรู้ความคิดสร้างสรรค์
เป็นประโยชน์ ต้องตอบได้ว่าสิ่งที่เราสร้างเป็นอย่างไร
เป็นที่ยอมรับ
มีโอกาสในการพัฒนา
กลยุทธ์นวัตกรรมการศึกษามี 4 ประเภท
product innovation : การเปลี่ยนแปลงในผลิตภัณฑ์หรือบริการของ
Process innovation : การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตหรือกระบวน การนำเสนอผลิตภัณฑ์
Position innovation : การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสินค้าหรือบริการเป็นการเปลี่ยนตำแหน่งของผลิตภัณฑ์ โดยการสร้างการรับรู้และความเข้าใจในผลิตภัณฑ์ต่อลูกค้า
Paradigm innovation : การมุ่งให้เกิดนวัตกรรมที่เปลี่ยนแปลงกรอบความคิด
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมที่นำมาใช้ทั้งที่ผ่านมาแล้ว และที่จะมีในอนาคตมีหลายประเภทขึ้นอยู่กับการประยุกต์ใช้นวัตกรรมในด้าน ต่างๆ ซึ่งจะขอแนะนำนวัตกรรมการศึกษา 5 ประเภทดังนี้
นวัตกรรมการเรียนการสอน เป็นการใช้วิธีระบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีสอนแบบใหม่ๆ ที่สามารถตอบสนองการเรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนแบบมีส่วนร่วม การเรียนรู้แบบแก้ปัญหา การพัฒนาวิธีสอนจำเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ
นวัตกรรมสื่อการสอน เนื่องจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่ายและเทคโนโลยีโทรคมนาคม
นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในท้อง ถิ่น และตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากขึ้น
แนวคิดพื้นฐานของนวัตกรรมทางการศึกษา
ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลอย่างมาก ต่อวิธีการศึกษา
การเรียนแบบไม่แบ่งชั้น (Non-Graded School)
– แบบเรียนสำเร็จรูป (Programmed Text Book)
– เครื่องสอน (Teaching Machine)
– การสอนเป็นคณะ (TeamTeaching)
– การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)
– เครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction)