Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Chapter 3 Flipped Classroom (วัตถุประสงค์การเรียนรู้ (นักศึกษารู้และเข้าใ…
Chapter 3
Flipped Classroom
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
นักศึกษารู้และเข้าใจรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ
Flipped Classroom
นักศึกษาสามารถบอกตัวอย่างและเปรียบเทียบรูปแบบการ
จัดการเรียนการสอนแบบเดิมกับแบบ Flipped Classroom ได้
นักศึกษาสามารถออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ
Flipped Classroom ได้
Flipped Classroom คืออะไร ?
The Flipped Classroom
หรือ การเรียนแบบ "พลิกกลับ" คือ
วิธีการเรียนแนวใหม่ที่ฉีกตำราการสอนแบบเดิม ๆไปโดยสิ้นเชิง
และกำลังได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆในโลกปัจจุบันที่
"การศึกษา" และ "เทคโนโลยี" แทบจะเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน
Flipped Classroom แปลตรงๆ ก็คือห้องเรียนที่ถูกพลิกด้าน คือ
การพลิกให้ “การเรียนเป็นสิ่งที่ไว้ศึกษาที่บ้าน
และเปลี่ยนสิ่งที่เคยเป็นการบ้านมาเป็นกิจกรรมให้ห้อง
เรียนแทน”
ใครบ้างที่ใช้โมเดลนี้ ?
ในต่างประเทศ หลากหลายคอร์ส ในหลากหลายมหาวิทยาลัย ได้เริ่มใช้โมเดลนี้แล้ว
วิชา Video production ที่ Algonquin College
วิชาบัญชี ที่ Penn State
ข้อดีของห้องเรียนกลับด้าน
กำจัดข้อเสียของรูปแบบเดิม คือ
นักศึกษาต้องพยายามเข้าใจใน
สิ่งที่อาจารย์พูดทันที
การใช้วีดีโอจะช่วยให้นักศึกษา
ปรับได้ในแบบที่ตัวเองต้องการและไม่กดดัน
การเปลี่ยนการบ้านและโปรเจคมาทำในห้องเรียน โดยมี
อาจารย์ควบคุมดูแล จะช่วยให้นักศึกษาเข้าใจมากขึ้น
และลดปัญหาการลอกการบ้าน
ข้อเสียของห้องเรียนกลับด้าน
เนื่องจาก Lectures ได้กลายเป็นวีดีโอที่ให้นักเรียนกลับไปเรียนเอง ดังนั้นวีดีโอที่ดีจึงเป็นสิ่งที่สำคัญ ดังนั้นสรุปได้ว่า
โมเดลนี้จึงเพิ่มภาระให้แก่อาจารย์ค่อนข้างมาก
สำหรับฝั่งนักเรียนเองก็ต้องทุ่มเทมากขึ้น ต้องศึกษาจากวีดีโอ
หรือสื่ออื่นๆ ล่วงหน้า โมเดลนี้จึงเป็นโมเดลที่ดีมากสำหรับ นักเรียนที่มีความขยัน ใฝ่เรียน
แต่ไม่ช่วยแก้ปัญหานักเรียนที่ไม่ตั้งใจได้
นักเรียนที่ไม่ถนัดเรียนรู้ด้วยตัวเอง
อาจไม่สามารถเข้าใจได้ดีนัก
เมื่อต้องเรียนรู้ด้วยตนเอง
รูปแบบกลับด้านนี้อาศัยเวลา
และความรับผิดชอบ มากกว่ารูปแบบเดิมๆ
มาเป็นกิจกรรมให้ห้องเรียนแทน”