Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การบริหารความขัดแย้งในองค์การ (แนวคิดของเรื่องความขัดแย้ง…
บทที่ 6 การบริหารความขัดแย้งในองค์การ
ความหมาย
การขัดแย้ง
สภาพการณ์หรือสถานการณ์ที่เป็นความแตกต่างที่บุคคล
แสดงพฤติกรรมเปิดเผยออกมาอย่างแตกต่างกัน
แนวคิดของเรื่องความขัดแย้ง
ความขัดแย้งในผลประโยชน์ระหว่างบุคคลเกิดได้ทุกที่
ความขัดแย้งเป็นปฏิสัมพันธ์แบบหนึ่ง
ความขัดแย้งในสังคมเป็นสิ่งปกติ หลีกเลี่ยงไม่ได้
ความขัดแย้งและการเปลี่ยนแปลงเป็นของคู่กัน
ความต้องการที่จะมีความสามัคคีภายในกลุ่ม
ความขัดแย้งเป็นการทดสอบอำนาจ
ความขัดแย้งบางครั้งช่วยรักษาความสัมพันธ์
ความขัดแย้งนำไปสู่กระบวนการรวมตัว และสวงหาพันธมิตร
ความขัดแย้งกับกลุ่มอื่นนำไปสู่การสร้างเอกลักษณ์และ
ความเข้มแข็งของกลุ่ม
ประเภทของความขัดแย้ง
ประเภทที่ 1 ความขัดแย้งในตัวบุคคล
Avoidance
เกิดขึ้นเนื่องจากจะต้องเลือกทางใดทางหนึ่งจาก2ทางหรือมากกว่า
Approach - Avoidance
เกิดขึ้นเนื่อจากจะต้องเลือกทำในสิ่งที่เป็นผลบวกและผลลบ
Approach
บุคคลเลือกทำสิ่งใดในตัวเลือกที่มีมากกว่า1ตัวเลือก
ประเภทที่ 2 ความขัดแย้งระหว่างบุคคล
เกิดขึ้นเนื่องจากความไม่เห็นด้วยในเรื่องราวต่างๆ
ประเภทที่ 3 ความขัดแย้งภายในกลุ่ม
ความขัดแย้งของสมาชิกภายในกลุ่มที่เกิดจาก
ความไม่เห็นด้วยเนื่องจากแนวคิดต่างกัน
ประเภทที่ 4 ความขัดแย้งระหว่ากลุ่ม
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม
ประเภทที่ 5 ความขัดแย้งในองค์การ
Horizontal
เป็นความขัดแย้งระหว่างแผนกในระดับเดียวกัน
Line-Staff
เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างผู้ปฏบัติงานประจำกลุ่มสายงาน
และทีมงาน
Vertical
เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างหัวหน้ากับลูกน้อง
Role
เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากการกำหนดบทบาทที่ไม่ชัดเจน
ปัจจัยที่เป็นสาเหตุ
การแบ่งงานตามความชำนาญเฉพาะด้านมีมากขึ้น
การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของงานไม่ชัดเจน
ลักษณะงานที่ต้องพึ่งพาซึ่งกันและกัน
อุปสรรคของการติดต่อสื่อสารหรือข้อความ
การแข่งขันเพื่อแย่งชิงทรัพยากรที่มีจำกัด
องค์ประกอบที่เป็นสาเหตุ
การสื่อสารระหว่างกัน
ปัญหาจากสื่อไม่ดี
ปัญหาจากผู้รับ
ปัญหาจากผู้ส่งข่าว
สภาพของตัวองค์การ
ตัวบุคคล
แบบฉบับ Style
การรับรู้ที่บิดเบือน
ภูมิหลังที่แตกต่างกัน