Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพ (การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (การตรวจเล็กโทรลัยต์…
การประเมินภาวะสุขภาพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจทางโลหิตวิทยา (Hematological examination)
Complete Blood Count (CBC)
การตรวจเล็กโทรลัยต์ (Electrolyte examination)
Sodium
Potassium
Chloride
Magnesium
การตรวจระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine examination)
Serum Thyroxin Test (T4)
Serum Triiodothyronine Test (T3)
Fasting Blood Sugar (FBS)
การตรวจปัสสาวะ (Urine examination)
การเก็บปัสสาวะทันทีเมื่อต้องการตรวจ
เก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
เก็บปัสสาวะที่ได้จากการสวน
การตรวจการทำงานของตับ (Liver Function Test: LFT
Total Serum Protein
Liver Enzymes Test
Bilirubin Test
การตรวจอุจจาระ (Stool examination)
อุจจาระร่วง
โรคแผลกระเพาะอาหาร
โรคพยาธิลำไส้
การตรวจเสมหะ (Sputum examination)
การติดเชื้อทางเดินหายใจวัณโรค
การตรวจทางรังสีวิทยา (X-ray)
การถ่ายภาพรังสีที่ทรวงอก (Chest X-ray)
ปอด
หัวใจ
กระดูกซี่โครง
หลอดเลือด
กระบังลม
การตรวจร่างกาย
การเคาะ (Percussion)
Direct percussion
Indirect percussion
การคลํา (Palpation)
การคลําลึกๆ (deep or bimanual palpation)
วิธีการคลําเบาๆ (light or superficial palpation)
การดู (Inspection)
การฟัง (Auscultation)
การฟังโดยตรง (direct auscultation)
การฟังโดยใช้เครื่องมือ (indirect auscultation
การสํารวจสภาพทั่วไป (General Survey)
การตรวจร่างกายตั้งแต่หัวจรดปลายเท้า (Head to Toe)
• ศีรษะและคอ (Head & Neck)
• ผิวหนัง (Skin)
• ทรวงอกและ ปอด (Thorax &Lungs)
• หัวใจ (Heart)
• ท้อง (Abdomen)
อวัยวะสืบพันธุ์ / ทวารหนัก (Genitalia/Anus &Rectum)
• ระบบประสาท (Nervous System)
แบบแผนการซักประวัติ
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต (Past History :PH)
ประวัติการเจ็บป่วยทั่วไปที่ยังไม่มีในประวัติปัจจุบัน ประวัติการเจ็บป่วยครั้งก่อน ๆ ซึ่งอาจจะเกี่ยวหรือไม่เกี่ยวข้องกับการเจ็บป่วยครั้งนี้ก็ได้ เช่น ประวัติการแพ้ยา /อาหาร :
ประวัติส่วนตัว (personal History)
อายุ เพศ อาชีพ สถานภาพการสมรส การศึกษา ประวัติการมีประจำเดือน เป็นต้น
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน (Present illness : PI)
เป็นการซักประวัติต่อจากอาการสำคัญ ถามถึงอาการและเหตุการณ์ต่างๆ ตั้งแต่ต้นจนถึงปัจจุบันตามระดับอาการที่เกิดขึ้น อาการนั้นเป็นมานานเท่าไหร่ หรือเริ่มเป็นตั้งแต่เมื่อไหร่ : ระยะเวลาที่เป็น (Durations) ตั้งแต่เริ่มเป็นจนถึงขณะสัมภาษณ์
อาการสำคัญ (Chief Complaint: CC )
อาการที่เป็นสาเหตุนำมาโรงพยาบาล อาการหลัก 1-2 อาการ + ระยะเวลา เช่น ไข้สูง 1 วันก่อนมารพ.
ประวัติครอบครัว (Family History :FH)
การเจ็บป่วย การตายของพ่อแม่ พี่น้อง หรือปู่ย่าตายา ซักประวัติโรคทางพันธุกรรม เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมัน โรคหัวใจ
เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล
เครื่องมือ 7 ชิ้น
ปฏิทินชุมชน
ระบบสุขภาพชุมชน
ประวัติศาสตร์ชุมชน
โครงสร้างองค์กรชุมชน
ประวัติชีวิต
แผนที่เดินดิน
ผังเครือญาติ
แผนที่ชุมชน (Community Mapping)
แบบสอบถาม
การประเมินชุมชน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ข้อมูล
แหล่งข้อมูล
ลักษณะของข้อมูล
ข้อมูลในการประเมินชุมชน
วิธีในการเก็บข้อมูล
การสำรวจ
แผนที่ / ผังชุมชน
การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล
บรรณาธิกรข้อมูล
การแยกประเภทข้อมูล
การแจกแจงความถี่
การคำนวณค่าสถิติ
การนำเสนอข้อมูล
การแปลความหมายของข้อมูล
การวินิจฉัยชุมชน
ความหมายของการวินิจฉัยอนามัยชุมชน
กระบวนการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ผลที่บ่งชี้ถึงระดับสุขภาพของประชาชนในชุมชน ปัญหาสุขภาพอนามัยของชุมชนนั้น
ขั้นตอนการวินิจฉัยอนามัยชุมชน
ขั้นตอนในการดำเนินการวินิจฉัยอนามัยชุมชน
วิธีการให้น้ำหนักเกณฑ์ ( Criteria Weighting Method )
วิธีของแฮนลอน (Hanlon method)
วิธีการขององค์การอนามัยโลก (WHO Priorities Setting Method)
ขั้นตอนการเตรียมการวินิจฉัยอนามัยชุมชน
2.1การเก็บรวบรวมข้อมูล
2.2 การวิเคราะห์ข้อมูล
2.3การกำหนดปัญหาอนามัยชุมชน
ประโยชน์ของการวินิจฉัยอนามัยชุมชน
ผลกระทบต่อประชาชน
ประโยชน์ต่อการศึกษาวิจัย
ประโยชน์ต่องานด้านสาธารณสุข
ทราบสภาพความเป็นจริงเกี่ยวกับองค์ประกอบพื้นฐานในด้านต่างๆของชุมชน