Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โจทย์สถานการณ์ที่ 2, ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสี…
โจทย์สถานการณ์ที่ 2
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ช่วยเป็นข้อมูลพิจารณา
ช่วยประเมินกิจกรรม
ช่วยวิเคราะห์บทบาท
เพื่อระบุประเด็นทางสังคม
ช่วยระบุกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแยกกับกลุ่มคิดค้น
เปิดโอกาสให้เจ้าหน้าที่ภาครัฐและเอกชน
องค์ประกอบของแนวทางการบริหาร
ตัวชี้วัดการดำเนินงานหลัก
การพิจารณากิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
ตั้งวัตถุประสงค์กลยุทธิ์
การตรวจสอบความสัมพันธ์
การกำหนดวิสัยทัศน์
การลงมือปฏิบัติ
วิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
วิเคราะห์บทบาทอำนาจ
ทำตารางแผนที่
วางแผนยุทศาสตร์
วาางแผนให้มีส่วนร่วม
ระบุผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ขั้นตอนการวิเคราะห์
ใครบ้างที่สนับสนุนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมุ่งหวังอะไรจากโครงการ
ระบุผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย
เป้าหมายของโครงการคืออะไร
วางกลยุทธ์ให้มีการร่วมกระบวนการวางแผน
ความพยายามในการมีส่วนร่วม
สร้างงบประมาณการมีส่วนร่วม
ผลประโยชน์และความสำคัญ
วางหลักการในการวางแผน
ประเภทผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรง
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก
บทบาทและอำนาจ
อำนาจที่กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
มีต่อโครงการในรูปของการควบคุม
และกระบวนการตัดสินใจ
การประเมินผลการปฏิบัติการพยาบาลสุขภาพชุมชน
ขั้นตอนการประเมินผลโครงการพัฒนาสุขภาพชุมชน
ขั้นที่ 4 กำหนดระยะเวลาที่จะดำเนินการประเมินผล
ขั้นที่ 2 กำหนดวิธีการที่จะใช้ในการประเมินผล มีการทดสอบเครื่องมือ
ขั้นที่ 5 กำหนดบุคลากรผู้รับผิดชอบในการประเมิน
ขั้นที่ 1 พิจารณาโครงการที่จะประเมินว่าเป็นโครงการอะไร มีความเป็นมาอย่างไร ใครเป็นผู้รับผิดชอบ มีวัตถุประสงค์อะไร ดำเนินการอย่างไร และในโครงการมีข้อจำกัดอะไรบ้าง แล้วเลือกวิธีการที่จะประเมิน
ขั้นที่ 6 ดำเนินการประเมินตามวัตถุประสงค์
ขั้นที่ 7 วิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นที่ 8 เปรียบเทียบข้อมูลที่ได้กับเกณฑ์
ขั้นที่ 9 เสนอผลการประเมิน
นที่ 3 พิจารณาข้อมูลที่จะนำมาใช้ประเมินว่าต้องการข้อมูลเพียงพอ เชื่อถือได้
ประเภท
วิธีที่ 1
Pre-Evaluation
Post-Evaluation
การประเมินประสิทธิผล
การประเมินผลกระทบ
การประเมินประสิทธิภาพ
Ongoing หรือ Operational Evaluation
วิธีที่ 2
การประเมินผลเป้าประสงค์
การประเมินผลระบบ
การประเมินบริบทของโครงการ
การประเมินปัจจัยนำเข้า
การประเมินกระบวนการ
การประเมินผลผลิต
วัตถุประสงค์
เพื่อประเมินความถูกต้องเหมาะสม
เพื่อประเมินการดำเนินงาน
เพื่อประเมินความสำเร็จ
ประโยชน์
มีข้อมูลในการควบคุมกำกับและปรับกิจกรรม
ทบทวนความเป็นไปได้ของการนำงานไปปฏิบัติ
สามารถตรวจสอบผลงานได้
ช่วยในการตัดสินใจปรับเปลี่ยนปัจจัยนำเข้ากิจกรรม
มีข้อมูลในการรายงานความก้าวหน้าของโครงการ
และการรายงานผลโครงการ
การวางแผนติดตามการทำงานและการนิเทศงาน
องค์ประกอบ
5 ประการ
Efficiency
Effectiveness
Progress
Impact
Relevance
เป็นการปฏิบัติในกิจการทุกประเภทเพื่อค้นหาความจริง หรือดำเนินไปตามเป้าหมายหรือไม่
การพัฒนาสุขภาพที่ยั่งยืน
เป้าหมายการพัฒนา
แห่งสหัสวรรษ (SDGs)
ลดอัตราการตายของมารดาทั่วโลกให้ต่ำกว่า 70
ต่อการเกิดมีชีพ 1 แสนคน
สร้างหลักประกันว่ามีการเข้าถึงบริการ ข้อมูล การให้การศึกษาเกี่ยวกับอนามัยเจริญพันธุ์โดยถ้วนหน้า รวมถึงการวางแผนครอบครัว และการผสานอนามัยเจริญพันธุ์ในยุทธศาสตร์และแผนงานระดับชาติ
ยุติการตายที่ป้องกันได้โดยมุ่งลดอัตราการตายในทารกลงให้ต่ำถึง 12 ต่อการเกิดมีชีพพันคน และลดอัตราการตายในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ลงให้ต่ำถึง 25 ต่อการเกิดมีชีพพันคน ภายในปี 2573
ลดจำนวนการตายและป่วยจากสารเคมีอันตราย และจากการปนเปื้อนและมลพิษทางอากาศ น้ำ และดิน ให้ลดลง
เสริมการป้องกันและรักษาการใช้สารเคมีในทางที่ผิด
การใช้ยาเสพติดและแอลกอฮอล์ในทางอันตราย
ลดจำนวนการตายและบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนทั่วโลกลงครึ่งหนึ่ง
ลดการตายก่อนวัยอันควรจากโรคไม่ติดต่อให้ลดลง1ใน3ผ่านทางการป้องกันและรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเป็นอยู่ที่ดี
บรรลุการมีหลักประกันถ้วนหน้า การป้องกันความเสี่ยงทางการเงิน การเข้าถึงบริการสาธารณสุขจำเป็นที่มีคุณภาพ และเข้าถึงยาและวัคซีนจำเป็น
ยุติการแพร่การกระจายของเอดส์ วัณโรค มาลาเรีย และโรคเขตร้อนที่ถูกละเลย และต่อสู้กับโรคตับอักเสบ โรคติดต่อทางน้ำ และโรคติดต่ออื่นๆ
นโยบายกระทรวงสาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง กับปัญหาสุขภาพชุมชนดอนทอง
หลักการวางแผน
อยู่ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติเป็นแผน
ระยะ 5 ปี เป็นกลไกเชื่อม
ต่อเป้าหมายยุทธศาสตร์ระยะ 20 ปี
สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาสุขภาพ
รูปแบบภาวะโรคเปลี่ยนจากโรคติดเชื้อไปเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ปัญหาในด้านการเงิน
มีการเพิ่มขึ้นของโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว
ปัญหาสุขภาพ/โรคจากอุบัติเหตุ ภัยพิบัติ และภัยสุขภาพ
กลไกการอภิบาลระบบสุขภาพในระดับชาติและธรรมาภิบาลไม่ชัดเจน
เป้าหมาย
-เพิ่มขีดจำกัดความสามารถของระบบบริการสุขภาพทุกระดับ
-คนไทยทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพที่ดี ลดการตายก่อนวัยอันควร
-ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น และภาคีเครือข่ายมีความรู้ด้านสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้การเจ็บป่วยและตายจากโรคที่ป้องกันได้ลดลง
-มีกลไกการอภิบาลระบบสุขภาพที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
-มีบุคลากรด้านที่ดูแลสุขภาพประชาชนในสัดส่วนที่เหมาะสม