Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โจทย์สถานการณ์ที่ 2, โรคเรื้อรัง (การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (Clinical…
โจทย์สถานการณ์ที่ 2
โรคเรื้อรัง
การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
Self-management Support
การสนับสนุนให้ผู้ป่วยดูแลตนเองอย่างเหมาะสม
Delivery System Design
ระยะสั้น
ระยะเฉียบพลัน
Health Care Organization
หน่วยงานบริการสุขภาพจะต้องให้ความสำคัญในการ
ให้บริการ เช่น การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการรักษา
Decision Support
แนวทางปฏิบัติทางคลินิกในรูปของ
การเตือนหรือกระตุ้นเตือน (Reminder)
Community Resources and Policies
มีการเชื่อมโยงกับทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชน
Clinical Information System
ช่วยเป็นระบบการหรือกระตุ้นเตือนให้แพทย์
ข้อมูลป้อนกลับสำหรับแพทย์ในการแสดง
ให้เห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
เป็นทะเบียนข้อมูลสำหรับวางแผนการดูแล
ผู้ป่วยรายบุคคลและรายกลุ่ม
ลักษณะของโรคเรื้อรัง
มีผลต่อหลอดเลือดในหลายรูปแบบ
ชื่อเรียกแยกต่างหากออกไป
การรักษาด้วยยาในโรคเหล่านี้มักจะไม่ได้ผล
ถ้าไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ป่วย
สามารถพยากรณ์โรคได้ว่าใครจะเป็น
ปัจจัยเสี่ยงและสาเหตุ
Non modifiable risk factors
ปัจจัยส่วนบุคคล
เพศ
อายุ
พันธุกรรม
modifiable risk factors
ปัจจัยทางสังคม
สถานะทางสังคม
อาชีพ
เศรษฐกิจ
วัฒนธรรม
เครือข่าย
สถาบันครอบครัว
เพื่อน
ปัจจัยทางจิตวิทยาสังคมและพฤติกรรม
ความเชื่อ
พฤติกรรมชอบเสี่ยง
ปัจจัยด้านบุคลิกภาพ
สถานการณ์
ความเครียด
ผลกระทบจากโรคเรื้อรัง
ด้านเศรษฐศาสตร์
ผลกระทบเหล่านี้เป็นผลมาจากค่าใช้จ่ายในระบบบริการ
สุขภาพที่รัฐต้องจัดสรรและลงทุนใน การรักษาพยาบาล
ด้านสังคม
ความสูญเสียความสามารถของแรงงาน
จากการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรและความพิการ
การจัดลำดับความสำคํญของปัญหา
วิธีการ
วิธีของกระบวนการกลุ่ม(Nominal Group Process)
วิธีของกรมการปกครอง
กระทรวงมหาดไทย
ขนาดของกลุ่มชุมชนที่ถูกกระทบ
ความร้ายเเรงเเละเร่งด่วน
ความเสียหายต่อการพัฒนาในอนาคต
การยอมรับร่วมกันของชุมชน
วิธีของ 5D
Death
Disability
Disease
discomfort
Dissatisfaction
6 วิธีของคณะสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
เกณฑ์ที่ใช้
B : ความรุนเเรงของปัญหา
C : ความยากง่ายเเละความพร้อมในการที่จะเเก้ไข้ปัญหา
A : ขนาดปัญหา
D : ความตระหนักเเละความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
สูตรที่ใช้
วิธีบวก
วิธีคูณ
วิธีขององค์การอนามัยโลก
Public health in
the western pacific
ขนาดปัญหา
ความสนใจของชมชน
ความเหมาะสม
การสนับสนุนด้านนโยบาย
Guid Index
ขนาดปัญหา
ความสำคัญบของปัญหา
ความเหมาะสมของเทคโนโลยี
John J. Halon
B : ความรุนเเรงปัญหา
C : ประสิทธิผลของ
การปฏิบัติงาน
A : ขนาดปัญหา
D : ข้อจำกัด
หลักการ
1 เป็นปัญหาที่ช่วยเหลือใน
ลักษณะป้องกันมากกว่ารักษา
2 เป็นปัญหาที่กระทบ
ต่อประชาชนกลุ่มใหญ่
การวิเคราะห์โยงใยสาเหตุของภาวะสุขภาพชุมชน
(Web of Causation)
การศึกษาความสัมพันธ์ของการเกิดโรคหรือปัญหาสุขภาพ
การหาความสัมพันธ์ของปัญหาสุขภาพจากปัจจัยต่างๆ
การวิเคราะห์ปัจจัยาเสี่ยงของปัญหาสุขภาพ
การวิเคราะห์ค่าความเสี่ยงสัมพัทธ์(relative risk)
ใช้ค่า ออด (Odd Ratio)
การวางแผนแก้ปัญหาสุขภาพชุมชน
ความหมาย
การที่บุคคลหรือกลุ่มคนเข้าร่วม
ในกระบวนการตัดสินใจ
เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน
ประเภทของแผน
แผนตามสายงาน
แผนระดับชาติ
แผนระดับกระทรวง
แผนระดับกรมหรืองสำนักงาน
แผนระดับกองหรือแผนระดับฝ่าย
แบ่งตามหลักเศรษฐ์ศาสตร์
แผนมหาภาค
แผนรายสาขา
แบ่งตามสถานที่
แผนระดับภาค
แผนระดับจังหวัด
แผนระดับอำเภอ
แผนระดับตำบล
แผนที่ระดับชาติ
เเบ่งตามเหตุการณ์
แผนที่เกิดขึ้นตามความจำเป็น เช่น แผนป้องกันน้ำท่วม
แบ่งตามระยะเวลา
แผนระยะกลาง:ระยะเวลา 3-5 ปี
แผนระยะยาว:เกิน 5ปี
แผนระยะสั้น:ไม่เกิน2 ปี
องค์ประกอบของโครงการ
วัตถุประสงค์
วิธีดำเนินการ
หลักการและเหตุผล
ระยะเวลาในการดำเนินงานโครงการ
ผู้รับผิดชอบโคงการ
งบประมาณและทรัพยากร
ส่วนราชการเจ้าของโครงการ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
หลักการและเหตุผล
การประเมินผลโครงการ
ชื่อโครงการ
ผลประโยชน์ที่คาดว่่าจะได้รับ
การปฏิบัติการพยาบาลสุขภาพ
ชุมชนเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพในชุมชน
กลวิธีการพยาบาลชุมชน
Training
Home Visit
Mobile Clinic
School Health
Health Education
Campaign
Home Health Care
ขั้นตอนการปฏิบัติการพยาบาล
การดำเนินการตามแผนโครงการ
รูปแบบอื่นๆ
ตารางปฏิบัติงาน
การติดตามและการนิเทศ
กระตุ้น ให้กำลังใจ
ทราบถึงปัญหาที่เกิด
การติดตามความก้าวหน้าของกิจกรรม
การเตรียมงาน
การเตรียมกลุ่มเป้าหมายหรือผู้รับบริการในชุมชน
การเตรียมผู้ปฏิบัติงานแก้ปัญหาสุขภาพในชุมชน
การบันทึกการปฏิบัติ
วิเคราะห์ปัญหา
ประเมินผลการดำเนินงาน
บันทึกเหตุการณ์ต่างๆ
เป็นข้อมูลประกอบการวางแผน