Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รหัส 5906510095 นางสาวฟิรดาว มาเซ๊าะ 68358066_2253100098151879…
รหัส 5906510095 นางสาวฟิรดาว มาเซ๊าะ
บทที่ 4 ทฤษฎีการออกแบบ การสร้างและการประยุกต์ใช้นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึกษา :
การออกแบบ และการสร้างนวัตกรรม 1. นวัตกรรมการศึกษา 2.นวัตกรรมการเรียนการสอน 3. นวัตกรรมการเรียนรู้
เป้าหมายของนวัตกรรมทางการศึกษา 1. เพื่อแก้ปัญหาการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น 2. เพื่อทำให้การเรียนรู้บรรลุเป้าหมายทางการศึกษาที่วางไว้ 3. เพื่อให้การจัดการศึกษามีประสิทธิภาพบรรลุเป้าหมายได้ดี
ขึ้น
การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม 1. ศึกษาประเภทของนวัตกรรม 2. ศึกษาวิธีการสร้าง 3. ศึกษาหลักสูตรการศึกษา 4. ลงมือสร้าง 5. ทดลองใช้ในการจัดการเรียนการสอน และปรับปรุง 6. ประเมินผล
องค์ประกอบในการจัดทำนวัตกรรม 1. มีความรู้ รู้จุดเด่น ต้นทุน คุณภาพ ฝีมือเดิม และสังเคราะห์ได้ 2. ตรงตามความความจำเป็นในการแก้ปัญหา 3. ผลที่ได้มีคุณค่า 4. จัดการนำสู่ผลได้จริง
วัตถุประสงค์ ในการนำนวัตกรรมมาใช้ เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพของการสอน ซึ่งส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน แต่บางครั้งมีการนำนวัตกรรมมาใช้ เพื่อแก้ปัญหาของผู้เรียน
องค์ประกอบของนวัตกรรมการเรียนรู้ 1. วัตถุประสงค์ 2. แนวคิดพื้นฐาน 3. โครงสร้างหรือขั้นตอนการใช้ 4. การประเมินผล
บทที่ 5 การประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสำคัญของการประเมินผลสื่อการเรียนรู้ 1. ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนและคุณภาพของการเรียนการสอน 2. ได้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพของสื่อการเรียนรู้ 3. เกิดการพัฒนาการใช้สื่อการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพมากยิ่ง
ขึ้น 4. สร้างความมั่นใจและอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการเลือกสื่อการเรียนรู้
วิธีการประเมินผลสื่อการเรียนรู้ 1. การประเมินโดยผู้สอน 2. การประเมินโดยผู้ชำนาญ 3. การประเมินโดยคณะกรรมการเฉพาะกิจ 4. การประเมินผลโดยผู้เรียน 5. การประเมินประสิทธิภาพของสื่อ 6. การประเมินผลโดยตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน 1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. แบบทดสอบความถนัดเพื่อวัดสมรรถนะของผู้เรียน 3. แบบสอบถาม 4. การสังเกตเป็นการเฝ้าดูผลที่เกิดขึ้นจากการใช้สื่อการสอน 5. การสัมภาษณ์เป็นการซักถามและพูดคุยกับทั้งผู้ผลิต ผู้ใช้และผู้เรียน
วิธีการประเมินผลสื่อการเรียนรู้ 1. การประเมินโดยผู้สอน 2. การประเมินโดยผู้ชำนาญ 3. การประเมินโดยคณะกรรมการเฉพาะกิจ 4. การประเมินผลโดยผู้เรียน 5. การประเมินประสิทธิภาพของสื่อ 6. การประเมินผลโดยตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
บทที่ 6 รูปแบบและกลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมทางการ
ศึกษา
กระบวนทัศน์การจัดการศึกษาศตว
วรรษที่ ๒๑ 1. เน้นที่กระบวนการเรียนรู้มากกว่าความรู้
ครูไม่ใช่ผู้ที่มอบความรู้เพียงอย่างเดียว 3. ครูเป็นผู้ออกแบบกระบวนการเรียนรู้พร้อมกับผู้เรียน 4. เป้าหมายของการเรียนรู้ไม่ใช่ที่ตัวความรู้ 5. แหล่งเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ สามารถเปิดกว้างได้อย่างไร้ขีดจำกัด
Smart Learner Think : ความคิด Ethic : คุณธรรม
จริยธรรม ICT Literacy :ทักษะด้านเทคโนโลยี Communication :
การติดต่อสื่อสาร Innovation : นวัตกรรม Public Mind : จิตสาธารณะ Collaboration : การร่วมมือ
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา 1. นวัตกรรมด้านสื่อการสอน 2.นวัตกรรมด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน 3. นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร 4. นวัตกรรมด้านการวัดและการประเมินผล 5. นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ
การศึกษายุค 4.0 Education 1.0 ผู้เรียนเป็นผู้รับความรู้จากผู้สอน
เพียงอย่างเดียว Education 2.0 ผู้เรียนเป็น ผู้สื่อสาร เชื่อมโยง ร่วมมือ และร่วม สร้างสรรค์ Education 3.0 ผู้เรียนเป็น ผู้เชื่อมโยง ผู้สร้างสรรค์ และสร้างองค์ความรู้ Education 4.0 ผู้เรียนเป็น ผู้สร้างนวัตกรรม และ การศึกษาที่สร้างผลผลิต
บทที่ 7 แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ทางการศึกษา
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ทางการศึกษา “แหล่งเรียนรู้” หมายถึง “แหล่ง” หรือ “ที่รวม” ซึ่งอาจเป็นสภาพ สถานที่ หรือศูนย์รวมที่ประกอบด้วย ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ และกิจกรรมที่มีกระบวนการเรียนรู้ หรือกระบวนการเรียนการสอน ที่มีรูปแบบแตกต่างจากกระบวนการเรียนการสอนที่มีครูเป็นผู้สอน หรือศูนย์กลางการเรียนรู้
การก่อเกิดของเครือข่ายอาจพิจารณาได้ 2 ทาง คือเครือข่ายที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ซึ่งดูได้จากความเป็นเครือญาติกันการมีภูมิลำเนาถิ่นกำเนิดเดียวกัน การมีความเชื่อถือศรัทธาเหมือนกัน การมีปัญหาร่วมกัน และการมีความสนใจร่วมกันในงานหรือกิจกรรม เป็นต้น เครือข่ายโดยการจัดตั้งขึ้นจะต้องมีผู้คอยกระตุ้นปลุกจิตสำนึกให้เกิด
ความคิดตระหนักถึงปัญหาของชุมชนร่วมกันและก่อให้เกิดการจัดตั้งกลุ่มองค์กรขึ้นมาเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งมักจะเป็นเครือข่ายในระบบราชการ
เครือข่ายการเรียนรู้ หมายถึง การแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ข้อมูลข่าวสาร ประสบการณ์ และการเรียนรู้ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล องค์การ และแหล่งความรู้ที่มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง จนเป็นระบบที่เชื่อมโยงกัน ส่งผลให้เกิดการเผยแพร่และการประยุกต์ความรู้ใหม่ๆ เพื่อวัตถุประสงค์ทางวิชาชีพหรือทางสังคม
แนวทางการบริหารจัดการและพัฒนาเครือ
ข่ายการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 4 ขั้น ดังนี้ 1.ขั้นการก่อรูปเครือข่ายการเรียนรู้ (learning network forming) 2.ขั้นการจัดระบบบริหารเครือข่ายการเรียนรู้ (learning network organizing) 3.ขั้นการใช้เครือข่ายการเรียนรู้(learning network utilizing ) 4.ขั้นการธำรงรักษาเครือข่ายการเรียนรู้ (learning network maintaining)
ความสำคัญของเครือข่ายการเรียนรู้ ปัจจุบันมีการสร้างระบบเครือข่ายการเรียนรู้กันมากขึ้น เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดระบบการเรียน การสอน รูปแบบ ใหม่ในสถาบันการศึกษา เช่น เครือข่ายภายในโรงเรียน หรือภายในสถาบันอุดมศึกษา และเชื่อมโยงกันระหว่าง วิทยาเขตจัดเป็นแคมปัสเน็ตเวิร์ค ก่อให้เกิดการติดต่อสื่อสารระหว่างครูกับนักเรียนเพื่อร่วมมือกันทำงานได้มากขึ้น เป็นสื่อกลาง เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลข่าวสารได้ทั่วโลก รวมทั้งสามารถใช้ประโยชน์จากระบบ อินทราเน็ตในการส่งข่าวสารได้
แหล่งการเรียนรู้หมายถึง แหล่งข่าวสารข้อมูลสารสนเทศ และประสบการณ์ที่สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียน ใฝ่เรียนใฝ่รู้ แสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถแบ่งได้ประเภทของแหล่งการเรียนรู้ไว้ 2 แบบ 1. จัดตามลักษณะของแหล่งการเรียนรู้ 2. จัดตามแหล่งที่ตั้งของแหล่งการเรียนรู้
คุณลักษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้ 1. สามารถเข้าถึงได้กว้างขวาง ง่าย สะดวก นักเรียนสามารถเรียก
ข้อมูลมาใช้ได้ง่าย 2. เป็นการเรียนแบบร่วมกันและทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม 3. สร้างกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้กระทำมากกว่าเป็นผู้ถูกกระทำ 4. ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนการสอน และเน้นบทบาทที่
เปลี่ยนแปลงไป 5.จัดให้เครือข่ายการเรียนรู้เป็นเสมือนชุมชนของการเรียนรู้แบบออนไลน์
กระบวนการและวิธีการสร้างเครือข่ายการ
เรียนรู้ 1.การตระหนักถึงความจำเป็นในการสร้างเครือข่ายเป็นขั้นตอนที่ผู้ปฏิบัติงานหรือฝ่ายจัดการตระหนักถึงความจำเป็นในการสร้างเครือข่ายเพื่อที่จะทำงานให้บรรลุเป้าหมายรวมทั้งพิจารณาถึงองค์กรต่างๆ 2. การติดต่อกับองค์กรที่จะร่วมเป็นเครือข่ายหลังจากตัดสินใจเกี่ยวกับ
องค์กรที่เห็นว่าเหมาะสมในการเข้าร่วมเป็นเครือข่ายแล้ว 3.การสร้างพันธกรณีร่วมกัน 4. การพัฒนาความสัมพันธ์ร่วมกัน 5. การทำกิจกรรมร่วมกัน 6. การรวมตัวกันจัดตั้งองค์กรใหม่ร่วมกัน
ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 1. รูปแบบการเรียนการสอน 2. บทบาทของผู้สอน 3.บทบาทของผู้เรียน 4.บทบาทของการเรียนการสอน 5.ห้องเรียน 6. ศูนย์เครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียน 7. ฐานบริการข้อมูลการเรียน 8. Student Homepage