Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Diagnosis การวินิจฉัยสุขภาพชุมชน (ประเภทของปัญหาชุมชน (อนามัยแม่และเด็ก,…
Diagnosis
การวินิจฉัยสุขภาพชุมชน
ความหมายของปัญหาชุมชน
โรคหรือภาวะที่ทำให้คนในชุมชนป่วย ตาย พิการทั้งทางกายและจิต โดยทางตรงและทางอ้อม
มีบุคคลเข้าไปทำความเข้าใจ ค้นหาสาเหตุของปัญหาเพื่อวางแผนแก้ไข
ปัญหาที่เกิดจากความเจ็บป่วยของประชาชนและเชื่อมโยงฌครงสร้างของประชากรเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
ประเภทของปัญหาชุมชน
อนามัยแม่และเด็ก
การใช้สารเคมี
ภาวะโภชนการ
ปัญหาโรคจิต โรคประสาท
จากอุบัติเหตุ
ปัญหาสุขภิบาลที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม
ปัญหาเกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บ
ที่มาของปัญหาชุมชน
ความต้องการของชุมชน
ความต้องการของเจ้าหน้าที่
ปัญหาสุขภาพชมชุน = (สิ่งที่ควรเป็น - สิ่งที่เป็นอยู่) x ความวิตกกังวล
ความต้องการของชุมชนและเจ้าหน้าที่
องค์ประกอบของปัญหาชุมชน
ด้านการศึกษา
ปัจจัยเลือก
ปัจจัยนำ
สิ่งที่ทำให้เกิด แรงจูงใจ
ปัจจัยสนับสนุน
ด้านการบริหาร
การดำเนินตามนโยบาย
การจัดการองค์กรและหน่วยงาน
นโยบาย
ด้านการประเมินพฤติกรรม
และสิ่งแวดล้อม
ด้านระบาดวิทยา
ช่วยในการตัดสินใจปัญหา
ด้านการปฏิบัติ
ประเมินผลกระทบ
ประเมมินนผลลัพธ์
กระบวนการ
ด้านสังคม
การวินิจฉัย,สัมภาษณ์
วิธีการเขียนปัญหาสาธารณสุข
ใน 1 ปัญหา ประกอบด้วย
2.กลุ่มอายุที่เป็น
Ex. อายุ 40 ปี
3.จำนวน
Ex. ร้อยละ 54.2
4.สาเหตุ
เกิดจากการรับประทานอาหารทอดและไม่ออกกำลังกาย
ตัวอย่าง โรค HT ของประชาชนอายุ 40 ปีร้อยละ 54.2 เนื่องจากการรับประทานอาหารทอดและไม่ออกกำลังกาย
1.ปัญหาหรือสถาการณ์
Ex. โรคความดันโลหิตสูง
ปัญหาควรเป็นผลลัพธ์ที่ได้ เช่น เรื่องของความเจ็บป่วย
ครอบคลุมปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมชุมชนแต่ไม่ต้องจัดกลุ่ม
ปัญหาควรมีความเฉพาะเจาะจง เช่น โรคความดันโลหิตสูงไม่ใช่โรคเรื้อรัง
วิธีระบุปัญหาชุมชน
เปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน
WHO
แผนพัฒนาสาธารณสุข
เกณฑ์ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)
ความหมาย เป็นข้อมูลแสดงลักษณะของสังคมที่พึงประสงค์
ตามเกณฑ์์ปชช.ทราบคุณภาพชีวิตของตนเอง
(2560 - 2564)
สภาพแวดล้อม - มีตัวชี้วัด 7 ตัว
การศึกษา - มีตัวชี้วัด 5 ตัว
สุขภาพ - มีตัวชี้วัด 7 ตัว
การมีงานทำ รายได้ - มีตัวชี้วัด 4 ตัว
ค่านิยม - มีตัวชี้วัด 8 ตัว
หลัก 5D's
Disease
(ความเจ็บป่วย)
Ex.มียุงลายทำให้ปชช.ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก,
การกินอาหารสุกๆดิบๆ ทำให้เป็นพยาธิ
Disbility
(ความพิการ)
Ex.ไม่สวมหมวกทำให้มีผู้พิการจากอุบัติเหตุบนท้องถนน
Discomfort
(ความไม่สุขสบาย)
EX. ไม่สุขสบายเพราะต้องสูดควันจากการเผาขยะของคนในชุมชน
Death
(ความตาย)
Ex.การไม่ไปฝากครรภ์ทำให้มีทารกตายจากบาดทะยักในทารกแรกเกิด
Dissatisfaction
(ความไม่พึงพอใจ)
Ex.รู้สึกรำคาญเสียงรถในชุมชน,
ไม่พอใจระบบสวัสดิการผู้สูงอายุ
ใช้กระบวนการกลุ่ม
ให้ปชช.ในชุมชน/ผู้นำชุมชน/ผู้ที่เป็นตัวแทนปชช.ในชุมชุน ได้เข้าร่วมการตัดสินใจว่าอะไรคือปัญหาของชุมชน
การจัดลำดับของปัญหาชุมชน
วิธีการของคณะสาธารณสุข มหิดลฯ
นิยมใช้มากที่สุด
ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ
ความรุนแรง
ความยากง่าย
ขนาดของปัญหา
ความตระหนักของชุมชน
หลัก 5D's
Disease
(ความเจ็บป่วย)
พิจารณาจากจำนวนคนเจ็บป่วย
Disbility
(ความพิการ)
สิ่งที่ทำให้เกิดความไม่สุขสบาย
Discomfort
(ความไม่สุขสบาย)
สิ่งที่ทำให้เกิดความไม่สุขสบาย
Death
(ความตาย)
พิจารณาจากจำนวนคนที่เสียชีวิตจากโรคหรืออัตราตายในชุมชน
Dissatisfaction
(ความไม่พึงพอใจ)
สิ่งที่ทำให้คนในชุมชนไม่พึงพอใจ
วิธีการหรือกระบวนการกลุ่ม
ให้ปชช.มีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ปัญหาด้วยตนเองตามความสำคัญก่อนหลังตามความต้ิงการของชุมชน
วิธีการของกรมปกครอง กระทรวงมหาดไทย
ความร้ายแรง ความเร่งด่วน
ความเสียหายต่อการพัฒนาในอนาคต
ขนาดของกลุ่มที่ถูกกระทบ
การยอมรับร่วมกันของชุมชน
วิธีการของ Hanlon
2.ความคุมคามของปัญหา
ความรุนแรง
ความเร่งด่วน
การสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ
การแพร่กระจายไปสู่คนอื่น
3.ประสิทธิภาพของการปฏิบัติ
1.ขนาดของปัญหา
4.ข้อจำกัด
Stanhope & Lancaster
ความสามารถของพยาบาลในการแก้ไขปัญฆา
ผู้ชำนาญการ ในการแก้ปัญหา
ความตั้งใจของชุมชน
ความรุนแรงของปัญหา ถ้าไม่ได้รับแก้ไข
การรับรู้ปัญหาของชุมชน
ความรวดเร็วของมติที่ต้องแก้ไขปัญหา
การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
เรียงลำดับของผลปัญฆา
ทางตรง
ทางอ้อม
วิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บ
ผลของปัญหา
เก็บรวบรวมข้อมูลที่เพิ่มเติม
สาเหตุ
วิเคราะห์ความสัมพันธ์กับปัจจัยที่ทำให้เกิดโรค
ลักษณะของปัญหา