Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โจทย์สถานการณ์ที่ 2 Status ของดอนทอง (เป้าหมายการพัฒนาสุขภาพที่ยั่งยืน…
โจทย์สถานการณ์ที่ 2 Status ของดอนทอง
เป้าหมายการพัฒนาสุขภาพที่ยั่งยืน
ด้านสิ่งแวดล้อม
เป้าหมายที่ 13: การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
เป้าหมายที่ 14: การใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล
เป้าหมายที่ 7: พลังงานสะอาดที่ทุกคนเข้าถึงได้
เป้าหมายที่ 15: การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก
เป้าหมายที่ 6: การจัดการน้ำและสุขาภิบาล
ด้านเศษฐกิจ
เป้าหมายที่ 8: การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ
เป้าหมายที่ 9: อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน
เป้าหมายที่ 17: ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ด้านสังคม
เป้าหมายที่ 2: ขจัดความหิวโหย
เป้าหมายที่ 3: การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี
เป้าหมายที่ 1 : ขจัดความยากจน
เป้าหมายที่ 4: การศึกษาที่เท่าเทียม
เป้าหมายที่ 5: ความเท่าเทียมทางเพศ
เป้าหมายที่ 16: สังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยก
เป้าหมายที่ 12: แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
เป้าหมายที่ 10: ลดความเหลื่อมล้ำ
เป้าหมายที่ 11: เมืองและถิ่นฐานมนุษย์อย่างยั่งยืน
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
หลักการ
2.ยึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา
3.ยึดเป้าหมายอนาคตประเทศไทย
1.ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาที่ยั่งยืน
เป้าหมาย
ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น และภาคีเครือข่าย มีความรอบรู้ด้านสุขภาพเพิ่มมากขึ้นส่งผลให้การเจ็บป่วยและตายจากโรคที่ป้องกันได้ลดลง
คนไทยทุกกลุ่มวัยมีสุขภาวะที่ดี ลดการตายก่อนวัยอันควร
เพิ่มขีดความสามารถของระบบบริการสุขภาพทุกระดับ ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการรับบริการได้อย่างสะดวก และเหมาะสม
มีบุคลากรด้านสุขภาพที่ดูแลประชาชน ในสัดส่วนที่เหมาะสม
มีกลไกการอภิบาลระบบสุขภาพแห่งชาติที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 เร่งการเสริมสร้างสุขภาพคนไทยเชิงรุก
ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเป็นธรรม ลดความเลื่อมล้ำในระบบบริการสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและสร้างกลไกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งในการอภิบาลระบบสุขภาพ
นโยบายปลัดกระทรวง
สาธารณสุข
1.จิตอาสา ทำความดีด้วยหัวใจ
พัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิ
เจ็บป่วย ฉุกเฉินได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที
การดูแลผู้สูงอายุ
ประชาชนได้รับความคุ้มครองจากสารพิษที่ทำลายสุขภาพ
คนไทยเป็นเจ้าของโรงพยาบาล
ผลักดันระบบหลักประกันของชาวต่างชาติในประเทศไทย
ร่วมมือกับภาคประชาชนในการพัฒนาหลักประกันสุขภาพ
ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยคณะกรรมการคุณภาพชีวิต ระดับอำเภอ และตำบล
ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
สนับสนุน ส่งเสริม สร้างขวัญกำลังใจให้กับบุคลากรในทุกระดับ
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
วิธีการจัดลำดับ
ความสำคัญของปัญหา
Stanhope และ Lancaster
วิธีขององค์การอนามัยโลก
วิธีกระบวนการกลุ่ม
วิธีของ 5 D
John J. Hanlon
วิธีของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
Clark and Othumval method
วิธีของคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
เกณฑ์การพิจารณา
ปัญหาเร่งด่วน
ขั้นตอน
4) สรุปผลการจัดลำดับความสำคัญ
1) การทบทวนรวบรวมข้อมูล
3) การให้น้ำหนักแต่ละองค์ประกอบ
2) กำหนดหลักเกณฑ์องค์ประกอบ
ความตระหนักของชุมชน
ขนาดของปัญหา
ความยากง่าย
ความรุนแรง
การเขียนโครงการ
ชื่อโครงการ
หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
หน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
สถานที่ดำเนินการ
ระยะเวลาดำเนินการโครงการ
วิธีดำเนินการ
งบประมาณ
การประเมินโครงการ
การติดตามและประเมินผล
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย
ความหมาย
ปัจเจกบุคคล หรือกลุ่มบุคคล องค์กร สถาบัน หรือชุมชน ที่ได้รับผลกระทบทั้งทางบวกและลบจากการตัดสินใจ นโยบายหรือโครงการ
ประเภท
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง (Secondary stakeholders)
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก (Key Stakeholders)
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรง (Primary stakeholders)