Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การระบุปัญหาชุมชน (เอาข้อมูลวิเคราะห์เปรียบเทียบ (จปฐ. แผนพัฒนาฯฉบับที่ 12…
การระบุปัญหาชุมชน
เอาข้อมูลวิเคราะห์เปรียบเทียบ
แผนพัฒนาสาธารณะสุข แผนพัฒนาฯฉบับที่ 12
หลักการ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
คนเป็นศูนย์กลาง
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (2579) และ SDGs
Thailand 4.0
ปฏิรูปด้านสาธารณะสุข
ธรรมนูญระบบสุขภาพฉบับที่ 12
แผน 20 ปีด้านสาธารณะสุข
สถานการณ์สุขภาพ
โครงสร้างประชากรสังคมผู้สูงอายุ
การเจ็บป่วย
ปัญหาตามช่วงวัย
คุณภาพการศึกษาการเรียนรู้คนไทยต่ำ Health literacy
ระบบสุขภาพ
ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพสูง
กำลังคนด้านสุขภาพไม่พอ
ปัญหาด้านคุณธรรม ธรรมาภิบาลไม่ชัดเจน
ปัญหาเหลื่อมล้ำในหลายมิติ
เป้าประสงค์
มีบุคลากรด้านสุขภาพต่อประชาชนสัดส่วนที่เหมาะสม
มีกลไกระบบสุขภาพเหมาะสม
เพิ่มขีดความสามารถระบบสุขภาพเข้าถึงได้
มีความรู้ด้านสุขภาพ
ทุกกลุ่มวัยมีสุขภาวะที่ดี ลดการตาายก่อนวัยอันควร
ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 เร่งการสร้างสุขภาพคนไทยเชิงรุก
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ลดความเหลื่อมล้ำทางสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มกลไกพัฒนากำลังคน
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งในระบบบริบาลสุขภาพ
WHO
จปฐ. แผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 (2560 - 2564)
หมวดสุขภาพ
เด็กแรกเกิดมีน้ำหนัก 2,500 กรัมขึ้นไป
เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน
เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย และได้มาตรฐาน
ครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบำบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม
คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี
คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที
หมวดสภาพแวดล้อม
ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และบ้ามีสภาพคงทนถาวร
ครัวเรือนมีน้ำสะอาดสำหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดปีอย่างน้อยคนละ 5 ลิตรต่อวัน
ครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอตลอดปี อย่างน้อยคนละ 45 ลิตรต่อวัน
ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือนเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด และถูกสุขลักษณะ
ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ
ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยและภัยธรรมชาติอย่างถูกวิธี
หมวดการศึกษา
เด็กอายุ 3 - 5 ปี ได้รับบริการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน
เด็กอายุ 6 -14 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี
เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า
คนในครัวเรือนที่จบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปีที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทำ ได้รับการฝึกอบรมด้านอาชีพ
คนอายุ 15 - 59 ปี อ่าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอย่างง่ายได้
หมวดการมีงานทำและรายได้
คนอายุ 15 – 59 ปี มีอาชีพและรายได้
คนอายุ 60 ปีขึ้นไป มีอาชีพและรายได้
รายได้เฉลี่ยของคนในครัวเรือนต่อปี
ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน
หมวดค่านิยม
คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่
คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
คนในครัวเรือนไม่ดื่มสุรา
ผู้สูงอายุได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน
ผู้พิการ ได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน
ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน
ครัวเรือนมีส่วนร่วมทำกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชน หรือท้องถิ่น
ครอบครัวมีความอบอุ่น
เกณฑ์ Millennium Development Goals
แผนพัฒนาเศรษฐสังคมแห่งชาติ
Sustainable Development Goals : SDGs
ปัญหาสุขภาพ = (สุขภาพที่ควรจะเป็น - สุขภาพที่เป็นอยู่) x ความห่วงใย
การจัดลำดับปัญหา
5D's
Disability : ให้ความสนใจจำนวนที่ทำให้เกิดความพิการจากโรค
Discomfort : ปัญหาสุขภาพที่ก่อให้เกิดความไม่สุขสบาย
Disease : จำนวนคนที่เป็นโรคผู้ป่วย
Dissatisfaction :ให้ความสำคัญเกี่ยวกับความรู้สึกไม่พอใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพ
Death : จำนวนคนทีjเสียชีวิตจากโรค/ปัญหาอัตราการตายในชุมชน
Hanlon and Pickett (1984)
4 องค์ประกอบ
องค์ประกอบ B การคุกคามของปัญหา
ความเร่งด่วน
ความรุนแรง
การสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ
การแพร่กระจายไปสู่คนอื่น
องค์ประกอบ C ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน
องค์ประกอบ A ขนาดของปัญหา
องค์ประกอบ D ข้อจํากัด
เศรษฐกิจ
การยอมรับ
ขุมพลังหรือทรัพยากร
ความเป็นไปได้ในเชิงกฎหมาย
ความเหมาะสมกิจกรรมกับปัญหา
กระบวนการกลุ่ม (Nominal group process)
ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
ประชาชนเสนอปัญหาต่างๆที่มีในชุมชน
Standhope&Lancaster (2015) ตั้งเกณฑ์
ความตัั้งใจของชุมชนในการแก้ไขปัญหา
ความสามารถของพยาบาลในการแก้ไขปัญหา
การรับรู้ปัญหาของชุมชน
ผู้ชำนาญการในการแก้ไขปัญหานั ้นๆที่มีอยู่
ความรุนแรงของปัญหาถ้าไม่ได้รับการแก้ไข
ความรวดเร็วของมติที่จะต้องแก้ไขปัญหานั้น
วิธีการของคณะสาธารณะสุขมมหิดล
ความรุนแรงของปัญหา
ความยาก/ง่ายในการแก้ปัญหา
ขนาดของปัญหา
ความสนใจ หรือความตระหนักของชุมชนที่มีต่อปัญหา
Clark & Ottumwa
ความรุนแรง
ความเป็นไปได้
ขนาดของปัญหา
ความตระหนัก
การประเมิณโดยใช้ดัชนี
Negative outcome โดยหลัก 5D's
Disease : ความเจ็บป่วย
Discomfort : ความไม่สุขสบาย
Disability : ความพิการ
Dissatisfaction : ความไม่พึงพอใจ
Death : ความตาย
Positive outcome
ความสมบูรณ์ของร่างกาย
ความสามารถในการแก้ไขปัญหา
การเจริญเติบโตของเด็ก
คุณภาพชีวิต
การวัดความยืนยาวของชีวิต
ค้นหาสาเหตุของปัญหา แล้วไปทำ "
Web of causation
"
น.ส.ณัชชารีย์ ตรีครุธพันธ์
เลขที่ 18A (593601035)