Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pneumonia (problem lists (ผล x- raysพบ infilltration of Rt. lung,…
Pneumonia
-
-
พยาธิสภาพของโรค
-
-
-
-
-
การตรวจวินิจฉัย
-
การตรวจร่างกายจะพบอาการทางคลินิก เช่น มีไข้สูง หนาวสั่น เจ็บหน้าอก หน้าแดง ฟังเสียงปอด มีเสียงcrepitation และอาจฟังพบ rhonchi
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจเสมหะ การตรวจปัสสาวะ การถ่ายภาพรังสีทรวงอก การส่องกล้องผ่านหลอดลม การตรวจ ABG
-
-
-
-
Aspiration pneumonia
microaspiration
เกิดจากการสำลัก orophryngeal secretion ขณะที่นอนของคนปกติ แต่ก็เชื่อว่าเป็นกลไกที่ทำให้เกิด pneumonia
macroaspiration
เกิดจากการสำลัก colonized oropharyngeal, upper GI content ทำให้เกิด aspiration pneumonia
การตรวจวินิจฉัย
-
-
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจนับเม็ดเลือดขาวกรณีที่พบ neutrophil สูง พบ WBC > 12,000 เซลล์2ลูกบาศก์มิลลิเมตร หรือ < 4,000 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร
-
-
-
-
-
-
-
การรักษา
การรักษาทางยา
ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยที่ไม่มีโรคร่วมด้วย กลุ่ม macrolide ได้แก่ azithromycin,clarithromycin,doxycycline ผู้ป่วยที่มีโรคร่วมด้วย เช่น moxifloxacin,levofloxacin
ผู้ป่วยใน respiratory flouroquinoline , beta lactam, moxifloxacin
-
-
-
-
กรณีศึกษา
-
-
-
-
general apperance
ผู้ป่วยหญิงไทย ระดับความรู้สึกตัว semiconscious conjunctiva สีแดง ไม่ซีด ใส่ NG tube สำหรับfeedยาและอาหาร ผู้ป่วยได้รับอาหารตามแผนการรักษา คือBD(1.5:1)200*4 feed feed รับได้ หายใจ on ventilator PS mode ps 10 PEEP 5 FiO2 0.3 on ET tube เบอร์ 7.5 marker 21 ฟังเสียงปอดได้ยินเสียง crepitation Rt.>Lt. รูปร่างผอม ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ หายใจ on ventilater มือทั้ง / ข้างบวม กดบุ๋ม 3 + on foley ลักษณะปัสสาวะสีเหลืองใส ไม่มีตะกอน on injection plugที่ หลังเท้าด้านซ้าย Intake 2,000 output 2.200 vital signs 1/10/62 อุณหภูมิ 37.8 องศาเซลเซียส ชีพจร 64 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ 20 ครั้ง/นาที ความดันโลหิต 120/70mmHg
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-
- เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากการนอนติดเตียง
-
-
เกณฑ์การประเมิน
-
-
-
-
-
ผลlab WBCปกติ (4.24-10.18 10^3uL),Neutrophil (48.1-71.2%),lymphocyte (21.1-42.7)อยู่ในเกณฑ์ปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลเพื่อป้องกันแผลกดทับ
ประเมินสภาพผิวหนังโดยการสังเกตว่ามีรอยแดงหรือรอยกดทับหรือไม่โดยเฉพาะผิวหนังที่มีปุ่มกระดูกต่างๆ ได้แก่ กระดูกเชิงกราน coccyx, สะโพกข้า
-
-
ป้องกันผิวหนังระคายเคืองและเกิดแผลกดทับจากการไหลซึมของปัสสาวะและอุจจาระหลังจากมีการไหลซึมของปัสสาวะและอุจจาระให้เช็ดและทำความสะอาด ซับให้แห้ง
-
ดูแลผ้าปูที่นอนให้สะอาดและตึงไม่เปียกชื้นอาจจะเสริมที่นอนลมให้ผู้ป่วยกระจายแรงกดทับไม่ให้กดบริเวณใดบริเวณหนึ่งมากเกินไป เปลี่ยนผ้าปูทุกครั้งที่มีการเปียกชื้น
-
-
-
-
-
ดูแล foley catheter
-
-
-
-
ดูแลfoley ให้อยู่ในระบบปิดโดยการไม่ปลด้อต่อระหว่างสายสวนปัสสาวะกับถุงรองน้ำปัสสาวะ ดูแลไม่ให้สายตึงรั้ง หัก พับ งอ
ดูแลถุงรองรับน้ำปัสสาวะให้อยู่ต่ำกว่ากระเพาะปัสสาวะและจัดให้ถุงรองรับน้ำปัสสาวะอยู่สูงกว่าพื้นห้องเสมอเพื่อป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากน้ำปัสสาวะจากurine bag ไหลย้อนเข้าไปในสายสวนปัสสาวะ
ดูแลให้น้ำปัสสาวะไหลลง urine bagได้สะดวก ไม่คั่งค้างอยู่ตามสายสวนปัสสาวะ โดยหมั่นรูดสายยางบ่อยๆและดูแลไม่ให้สายสวนปัสสาวะบิดงอหรือถูกกดทับ
เปลี่ยน foley catheter และ urine bag ทุก 2-4 สัปดาห์หากประเมินว่าผู้ป่วยเริ่มมีอาการองการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะควรเปลี่ยนสายสวนและถุงปัสสาวะใหม่ทันทีและอาจต้องส่งปัสสาวะตรวจเป็นระยะๆ
-
-
-
-
-