Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
100-119 พื้นฐานคอม 1 (บทที่4ระบบอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน :pencil2: (:<…
100-119 พื้นฐานคอม
บทที่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ :pencil2:
:<3: ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประมาณ 2,600ปีก่อนคริสตกาล ชาวจีนได้ประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อใช้ในการ คำนวณขึ้นมาชนิดหนึ่ง เรียกว่า "ลูกคิด" (Abacus)
พ.ศ.2158 จอห์น เนเพีย นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์ ได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ที่ใช้ช่วยในการคำนวณขึ้นมา เรียกว่า Napier’s Bones มีลักษณะคล้ายกับตารางสูตรคูณในปัจจุบัน
พ.ศ.2173 วิลเลียม ออตเทรต (William Oughtred) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้ประดิษฐ์ ไม้บรรทัดคำนวณ ซึ่ง ต่อมากลายเป็นพื้นฐานของการสร้าง คอมพิวเตอร์แบบอนาล็อก
พ.ศ.2185 เบลส์ ปาสคาล (Blaise Pascal) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ได้ประดิษฐ์ เครื่องบวกลบ โดยใช้หลักการหมุนของฟันเฟือง และการทดเลขเมื่อฟันเฟืองหมุนไปครบรอบ โดยแสดงตัวเลขจาก 0-9 ออกที่หน้าปัด
:<3:ยุคของคอมพิวเตอร์
ยุคหลอดสูญญากาศ(VacuumTube)
ใช้หลอดสูญญากาศ และ ดรัมแม่เหล็ก เป็นส่วนสำคัญ
ดรัมแม่เหล็ก ถูกใช้เป็นหน่วยความจำหลัก
หน่วยบันทึกข้อมูลสำรอง ที่ใช้เก็บข้อมูลและโปรแกรม อยู่ในรูปของบัตรเจาะรู
ปลายยุคใช้เทปแม่เหล็กเป็นหน่วยบันทึกข้อมูลสำรอง
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ จะอยู่ในรูปของภาษาเครื่อง ซึ่งเป็นตัวเลขฐานสองทั้งสิ้น
ยุคทรานซิสเตอร์ (TR : Transistors)
แทนที่หลอดสูญญากาศด้วย ทรานซิสเตอร์
หน่วยความจำพื้นฐานใช้ Magnetic core
หน่วยบันทึกข้อมูลสำรอง เป็น Magnetic disk ซึ่งมีความเร็วสูงขึ้น
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ถูกรวมกันไว้ใน แผ่นวงจรพิมพ์ลาย (Printed
circuit boards) ทำให้วิเคราะห์หาข้อผิดพลาดได้ง่ายขึ้น
ภาษาที่ใช้เป็นระดับสูงเช่น FORTRAN และ COBOL ทำให้โปรแกรมได้
สะดวกกว่ายุคแรกเนื่องจากไวยากรณ์คล้ายคลึงภาษาอังกฤษ
เริ่มมี Compiler และ Interpreter ในการแปลภาษาระดับสูงเป็นภาษาเครื่อง
ยุคแผงวงจรรวม (IC : Integrated Circuits)
มีการใช้งาน เทอร์มินัล (Terminal) ซึ่งเป็นจอคอมพิวเตอร์ที่สามารถ
ติดต่อกับคอมพิวเตอร์ได้ทางคีย์บอร์ด (keyboard)
เริ่มมี ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ช่วยในการบริหาร
ทรัพยากรคอมพิวเตอร์
ยุคแผงวงจรรวมขนาดใหญ่
สามารถเก็บทรานซิสเตอร์ได้นับล้านตัวไว้ในชิปเพียงแผ่นเดียว
มีการเพิ่มความสามารถในการเก็บข้อมูลของ หน่วยบันทึกข้อมูล
สำรอง
ซอฟต์แวร์ได้มีการพัฒนามากขึ้น ขนาดใหญ่ขึ้นซับซ้อนมากขึ้น เช่น
Visual Programming, Object-Oriented Programming (OOP)
:<3: ความหมายของระบบ
คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่มนุษย์สร้างขึ้น
เพื่อใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการคำนวณหรือประมวลผล
และจัดการกับข้อมูล ทั้งตัวเลข ตัวอักษร
:<3: คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
ความเร็ว (Speed)
ความเชื่อถือได้ (Reliable)
ความถูกต้องแม่นยำ (Accurate)
เก็บข้อมูลได้มาก (Store massive amounts of information)
เคลื่อนย้ายข้อมูลได้รวดเร็ว (Move information)
:<3: ส่วนประกอบที่สำคัญของ
ระบบคอมพิวเตอร์
ฮาร์ดแวร์
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
หน่วยประมวลผล (CPU : Central Processing Unit)
หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit)
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage Unit)
ซอฟต์แวร์ (Software)
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
บุคลากร (People ware / User)
ผู้จัดการ
นักวิเคราะห์ออกแบบระบบ
นักเขียนโปรแกรม
วิศวกรคอมพิวเตอร์
พนักงานควบคุมเครื่อง
ผู้ควบคุมการปฏิบัติงาน
พนักงานเตรียมข้อมูล
:<3: ประเภทของคอมพิวเตอร์ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super computer)
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super computer)
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super computer)
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super computer)
แท็บเล็ต (Tablet)
คอมพิวเตอร์แบบฝังตัว (Embedded Computer)
บทที่2 ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ :pencil2:
:<3:แผงวงจรหลัก (Main Board)
:<3:หน่วยประมวลผลกลาง
:<3:หน่วยความจำหลัก
RAM (Random Access memory)
แบบเก็บข้อมูลชั่วคราว เก็บข้อมูลอยู่ได้ แต่ต้องมีไฟเลี้ยง
ROM (Read Only Memory)
แบบเก็บข้อมูลถาวร เก็บข้อมูลอยู่ได้แม้ไม่มีไฟเลี้ยง
:<3:หน่วยรับข้อมูล
อุปกรณ์แบบกด = แป้นพิมพ์ (Keyboard)
อุปกรณ์ชี้ตำแหน่ง = เมาส์ (Mouse),, จอยสติ๊ก (Joystick)
จอภาพระบบไวต่อการสัมผัส = จอภาพสัมผัส (Touch Screen)
อุปกรณ์บันทึกภาพ = กล้องดิจิตอล (Digital Camera)
ระบบกวาดข้อมูล = สแกนเนอร์ (Scanner)
อุปกรณ์รู้จำเสียง = ไมโครโฟน (Microphone)
:<3:หน่วยแสดงผล
จอภาพ (Monitor)
ลำโพง (Speaker)
โปรเจ็คเตอร์ (Projector)
เครื่องพิมพ์ (Printer)
พล็อตเตอร์ (Plotter)
:<3:หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
เทปแม่เหล็ก (Tape)
ดิสก์แม่เหล็ก (Magnetic disk)
ออปติคัลดิสก์
หน่วยเก็บข้อมูลแบบแฟลช
บทที่3 ซอฟต์แวร์ระบบ :pencil2:
:<3:หน่วยความจุของข้อมูล
บิต (bit) เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของคอมพิวเตอร์ เป็นค่าตัวเลขตัวหนึ่ง ได้แก่ 0 หรือ 1
ไบต์ (byte) เป็นกลุ่มของบิตที่รวมกันเพื่อแทนสัญลักษณ์ต่างๆ
8 บิต เป็น 1 ไบต์ (11110000 Bit = 1 Byte)
กิโลไบต์ (Kilobyte) ใช้ตัวย่อว่า KB มีค่าเท่ากับ 1,024 ไบต์ หรือประมาณ
1,000 ไบต์ ไบต์ เทียบเท่ากับตัวอักษรประมาณ 1,000 ตัว
หรือประมาณ 1 หน้ากระดาษ
เมกกะไบต์ (Megabyte ตัวย่อคือ MB) จะมีค่าประมาณ 1,000
กิโลไบต์ หรือประมาณ 1 ล้านไบต์
จิกะไบต์ (Gigabyte) หรือ ใช้ตัวย่อว่า GB โดยจะมีค่าประมาณ 1,000
เมกกะไบต์หรือประมาณ 1 พันล้านไบต์
:<3:วิวัฒนาการของภาษาคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์สื่อสารโดยใช้เลขฐานสองเท่านั้น (0,1)
ภาษาที่ใช้เฉพาะเลขฐานสองในคอมพิวเตอร์เรียกว่า ภาษาเครื่อง
:<3:ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาเครื่อง
ภาษาแอสเซมบลี (ภาษาระดับต่ำ)
ภาษาระดับสูง เช่น JAVA,COBOL,Pascal, C,C++…
ภาษาระดับสูงมาก เช่น SQL
ภาษาธรรมชาติ
บทที่4ระบบอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน :pencil2:
:<3:ISP คืออะไร?
คือ หน่วยงานที่ให้บริการเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ทำหน้าที่ เสมือนเป็นประตูเปิดการเชื่อมต่อให้บุคคลหรือองค์กร
สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้
:<3:โปรโตคอล
(TCP/IP)
คอมพิวเตอร์บนอินเทอร์เน็ตติดต่อกันโดยใช้โป
รโตคอลแบบ
ทีซีพี (TCP) และ ไอพี (IP) เรียกรวมๆ กันว่า ทีซี
พี/ไอพี (TCP/IP)
ทีซีพี (TCP:Transmission Control Protocol) ทำหน้าที่ในการควบคุมและรับประกันความถูก
ต้องในการส่งข้อมูล
:<3:ระบบการแทนชื่อในอินเทอร์เน็ต
การแทนหมายเลขไอพีด้วยชื่อเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ เรียกว่า ระบบชื่อโดเมน เช่น th. แทนชื่อประเทศไทย
:<3:การติดต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่อโดยตรง
ผู้ใช้ต้องมีเครือข่ายที่ต้องการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตเพื่อให้ใช้บริการต่างๆได้ตลอดเวลาต้อง
ใช้อุปกรณ์ เราท์เตอร์ (Router)
ใช้ช่องทางการสื่อสาร เช่น สายเช่า
การเชื่อมต่อผ่านการหมุนโทรศัพท์ (Dial Up Access)
เป็นการติดต่อผ่านสายโทรศัพท์
ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ติดต่อผ่าน โมเด็ม (Modem) เพื่อติดต่อกับ
หน่วยงานไอเอสพี (ISP)
ความเร็วในการสื่อสารจะช้ากว่าการเชื่อมต่อโดยตรง
:<3:บริการบนอินเทอร์เน็ต
บริการด้านการสื่อสารและแลกเปลี่ยนไฟล์ข้อมูล
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail)
การเข้าใช้เครื่องจากระยะไกล (Telnet)
บริการเกมส์ออนไลน์
บริการค้นหาข้อมูล
:<3:บริการต่างๆในระบบอิน
เทอร์เน็ต
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail : Electronics Mail)
การเข้าใช้เครื่องจากทาง
ไกล (Telnet )
การขนถ่ายไฟล์ (Ftp)
กระดานข่าว
(usenet)
การพูดคุยออนไลน์ (Talk)
บริการเกมส์ออนไลน์
:<3:ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูล
การ
ส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
มีระบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
สามารถค้นหาข้อมูลในด้านต่างๆ ได้ผ่านบริการ
World Wide Web
:<3:โทษของอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตเป็นระบบอิสระ ไม่มีเจ้าของ ทำให้การ
ควบคุมกระทำได้ยาก
มีข้อมูลที่มีผลเสียเผยแพร่อยู่ปริมาณมาก
ไม่มีระบบจัดการข้อมูลที่ดี ทำให้การค้นหากระ
ทำได้ไม่ดีเท่าที่ควร