Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วย ขตร.3 เตียง 1-8 (ยา (Cef-3 2g vein (off 26/09/62)…
ผู้ป่วย ขตร.3 เตียง 1-8
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากภาวะ Hyperglycemia
เกณฑ์การประเมินผล
สัญญาณชีพปกติ
ไม่มีอาการแสงของภาวะน้ำตาลในเลืือดสูง เช่น เหงื่อออก ตัวเย็น หรือผิวหนังแห้ง ตาลึกโบ๋ คลื่นไส้อาเจียน
ซึมลง หรือ หมดสติ
DTX 80-180
กิจกรรมการพยาบาล
วัดสัญญาณชีพ ทุก 4 hr. โดยเฉพาะชีพจร และความดันโลหิต เพื่อประเมินภาวะช็อก
ดูแลการได้รับยาลดระดับนํ้าตาลอินซูลินตามแผนการรักษาของแพทย์
สังเกตระดับความรู้สึกตัวและอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย เช่น ซึม กระวนกระวาย ชักหรือหมดสติ เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยได้ทันท่วงที
วัดระับน้ำตาลในเลือด วันละ 4 ครั้ง คือ 06.00 น. 11.00 น. 15.00 น. 20.00น.
ติดตามผลระดับนํ้าตาลในเลือดเพื่อประเมินระดับนํ้าตาลอยางใกล้ชิด เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยได้ทันท่วงที
ข้อสนับสนุน
OD
สัญญาณชีพ (24/09/62) อุณหภูมิ 36.7 องศาเซลเซียส ชีพจร 100 ครั้งต่อนาที อัตราการ หายใจ 20 ครั้งต่อนาที ความดันโลหิต 130 / 90 มิลลิเมตรปรอท
DTX
23/09/62
11.00น.=309
15.00น.=270
06.00น.=240
20.00น.=221
24/09/62
11.00น.=206
15.00น.=195
06.00น.=175
20.00น.=184
วัตถุประสงค์ 1.ปลอดภัยจากภาวะช็อค
2.ระดับนํ้าตาลในเลือดอยู่ระดับปกติ
การประเมินผลการพยาบาล
ไม่มีอาการแสงของภาวะน้ำตาลในเลืือดสูง เช่น เหงื่อออก ตัวเย็น หรือผิวหนังแห้ง ตาลึกโบ๋ คลื่นไส้อาเจียน
ซึมลง หรือ หมดสติ
DTX
27/09/62
11.00น.=244
15.00น.= 319
06.00น.= 179
20.00น.= 174
28/09/62
11.00น.=296
15.00น.= 287
06.00น.= 276
20.00น.= 214
สัญญาณชีพ (28/09/62) อุณหภูมิ 37.8 องศาเซลเซียส ชีพจร 92 ครั้งต่อนาที อัตราการ หายใจ 20 ครั้งต่อนาที ความดันโลหิต 110/80 มิลลิเมตรปรอท
เกิดภาวะติดเชื้อที่ปอด
เกณฑ์การประเมินผล
WBC อยู่ในระดับปกติ คือ 4.24-10.18 10^3/uL
Neutrophil อยู่ในระดับปกติ คือ 48.1-71.2 %
สัญญาณชีพปกติ
sputum culture ไม่พบเชื้อ
กิจกรรมการพยาบาล
วัดสัญญาณชีพ ทุก 4 hr. โดยเฉพาะอุณหภูมิร่างกาย เพื่อประเมินภาวะการติเชื้อ
บันทึกปริมาณจำนวนน้ำที่ได้รับและขับออกใน 8 ชั่วโมงเพื่อ ประเมินการทำงานของไต
ลดการแพร่ระบาดเชื้อเช่นล้างมือก่อนและหลังทำหัตถการการ
ลดปัจจัยจะส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดภาวะการติดเชื้อเพิ่มขึ้นใช้ เทคนิคในการพยาบาลอย่างมีมาตรฐานเทคนิคปลอดเชื้อต่างๆ
ติดตามผลโลหิตวิทยาโดยดูจากเม็ดโลหิตขาว (WBC) และค่านิว โตรฟิว (neutrophil) เพื่อประเมินภาวะติดเชื้อ
ติดตามผล sputum culture เพื่อประเมินภาวะติดเชื้อที่ปอด
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ Tazocin 4.5 g IV vein drip ตามแผนการรักษาของแพทย์
สังเกตการหายใจ และฟังเสียงปอเพื่อประเมินประสิทธิภาพในการหายใจ
ข้อสนับสนุน
OD
Neutrophil สูง 77.8 % (ค่าปกติ48.1-71.2)
WBCสูง 13.87 10^3/uL (ค่าปกติ 4.24-10.18)
sputum culture พบเชื้อ klebsiella pneumoniae
วัตถุประสงค์ : ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะติดเชื้อที่ปอด
การประเมินผลการพยาบาล
ผลทางห้องปฏิบัติการ(29/09/62) WBCสูง 10.58 10^3/ Neutrophil สูง 74.4 %
สัญญาณชีพ (29/09/62) อุณหภูมิ 38.2 องศาเซลเซียส ชีพจร 100 ครั้งต่อนาที อัตราการ หายใจ 20 ครั้งต่อนาที ความดันโลหิต 118/60 มิลลิเมตรปรอท
เสี่ยงต่อภาะพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธภาพในการหายใจลดลง
วัตถุประสงค์ ป้องกันการเกิดภาวะพร่องออกซิเจน
เกณฑ์การประเมินผล
ค่าความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือดแดงอยู่ในช่วง 95-100%
ไม่มีอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน เช่น ปลายมือ-เท้าเขียวซีด
อัตราการหายใจปกติอยู่ในช่วง 14-24 ครั้ง/นาที ไม่มีอาการเหนื่อยหอบ
ข้อสนับสนุน
SD -
OD
ฟังปอดได้ยินเสียง wheezing
ผู้ป่วยหายใจโดยใช้เครื่องช่วยหายใจ pcv mode
กิจกรรมการพยาบาล
จัดท่านอนศีรษะสูง (fowler's position) เพื่อให้ทางเดินหายใจอยู่ในแนวตรง ป้องกันการตกของโคนลิ้นอุดกันทางเดินหายใจ
ดูดเสมหะให้ผู้ป่วยเพื่อป้องกันเสมหะอุดตันในท่อหลอดลม
ประเมินนค่าความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือด (Oxygen saturation)
สังเกตลักษณะการหายใจขฃองผู้ป่วย
ประเมินสัญญาณชีพ อุณหภูมิร่างกาย ชีพจร ความดันโลหิต อัตราการหายใจ ทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลให้เครื่องช่วยหายใจทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ คือ อยู่ใน pcv mode FiO2=0.3 RR16 PEEP5
ดูแลให้ได้รับยาพ่นขยายหลอลม Berodual 1 NB q 6 hr. ตามแผนการรักษาของแพทย์
การประเมินผลการพยาบาล
ค่าความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือดแดงอยู่ในช่วง 95-100%
ไม่มีอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน เช่น ปลายมือ-เท้าเขียวซีด
อัตราการหายใจ 22 ครั้ง/นาที ไม่มีอาการเหนื่อยหอบ
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากภาวะ Hypophosphatemia
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการแสดงของภาวะ Hypophosphatemia คือ อาการมือสั่น ชา reflex ลดลง ซึม หมสติ ชัก เบื่ออาหาร กลืนลำบาก กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ผล lab phosphorus อยู่ในระดับปกติ 2.3-4.7 mg/dL
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ได้รับสารอาหารเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย คือ BD 1.2:1 300x4 feed LF
วัดสัญญาณชีพ ทุก 4 hr. โดยเฉพาะชีพจร และการหายใจ
ดูแลให้ได้รับ สารละลาย Phosphorus 30 ml oral BID ตามแผนการรักษาของแพทย์
สังเกตอาการแสดงของภาวะ Hypophosphatemia คือ อาการมือสั่น ชา reflex ลดลง ซึม หมสติ ชัก เบื่ออาหาร กลืนลำบาก กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ ค่า Phosphorus
วัตถุประสงค์ ป้องกันอันตรายจากภาวะ Hypophosphatemia
การประเมินผลการพยาบาล
ผล lab (27/09/62) phosphorus ปกติ 3.3 mg/dL
ไม่มีอาการแสดงของภาวะ Hypophosphatemia คือ อาการมือสั่น ชา reflex ลดลง ซึม หมสติ ชัก เบื่ออาหาร กลืนลำบาก กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ข้อสนับสนุน
SD -
OD
ผล lab (25/09/62) phosphorus ต่ำ 2.1 mg/dL (ค่าปกติ 2.3-4.7)
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากภาวะ hyponatremia
ข้อมูลสนับสนุน
OD
ผลการตรวจทางห้องปฎิบัติการ Electroltes Na ลดลง Na=132 mmol/L
SD-
กิจกกรรมการพยาบาล
บันทึกและประเมินน้ำเข้า-ออกจากร่างกายทุก 8 ชั่วโมง
ประเมินอาการและอากาแสดงของภาวะ hyponatremia คือ อาการคลื่นไส้อาเจียน กล้ามเนื้ออ่อนแรง และการตอบสนองต่อการรักษา เช่น ระดับความรู้สึกตัวดีขึ้น
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ระดับโซเดียมในเลือด
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
วัตถุประสงค์ทางการพยาบาล
ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากภาวะ hyponatremia
เกณฑ์การประเมิน
ผลทางห้องปฏิบัติการ ค่า Na อยู่ในระดับปกติ 136-145 mmol/L
ผู้ป่วยไม่มีอาการ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ชัก สับสน คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
การประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยไม่มีอาการ ชัก สับสน อาเจียน
ผลทางห้องปฏิบัติการ ค่า Na(30/09/62)=136 mmol/L
ญาติมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของผู้ป่วย
เกณฑ์การประเมินผล
ญาติไม่มีสีหน้าวิตกกังวล
ญาติมีความเข้าใจเกี่ยวกับโรคของผู้ป่วย
ญาติมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับผู้ป่วยลดลง
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายเกี่ยวกับอาการผู้ป่วยและแผนการพยาบาลให้ญาติทราบโดยใช้ถ้อยคำที่สุภาพ นุ่มนวล และเข้าใจง่าย
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับญาติและเปิดโอกาสให้ได้ระบายความรู้สึกวิตกกังวล
เป็นสื่อกลางระหว่างแพทย์กับญาติเมื่อมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับโรคของผู้ป่วยเพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับโรคผู้ป่วยมากขึ้น
.สังเกตภาวะความวิตกกังวลของญาติที่แสดงออกทางสีหน้า ท่าทางและคำพูดเพื่อประเมินภาวะความวิตกกังวล
ให้กำลังใจและแนะนำให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย เช่น การเช็ดตัวลดไข้
วัตถุประสงค์ : ลดความวิตกกังวลของญาติ
การประเมินผลการพยาบาล
ข้อมูลสนับสนุน
SD
ญาติสังเกตและสอบถามอาการผู้ป่วยด้วยความวิตกกังวล
OD
ญาติมีสีหน้าวิตกกังวล
เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับเนื่องจากผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองไม่ได้
เกณฑ์การประเมิน
Braden score มากกว่า 11 คะแนนหรือเพิ่มมากขึ้น คือ มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับน้อยลง
ผล lab albumin อยู่ในระดับปกติ 3.5-5.2 g/dL
ผิวหนังผู้ป่วยชุ่มชื้น ไม่แห้ง ไม่มีรอยแดง ไม่มีแผลกดทับ
กิจกรรมการพยาบาล
ช่วยพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับ
ยกตัวผูป่วยด้วยความนุ่มนวล และใช้ผ้ายกตัว เพื่อป้องกันผิวหนังเกิดการเสียดสีกับผ้าปูที่นอน
จัดท่านอนศีรษะสูง 30 องศา เพื่อลดแรงเสียดสีและแรงเลื่อนไถล
ประเมินลักษณะผิวหนังของผู้ป่วยโดยเฉพาะบริเวณที่มีปุ่มกระดูก ว่ามีลักษณะผิวหนังแห้งลอก แดง หรือมีแผลกดทับ เพื่อเฝ้าระวังการเกิดแผลกดทับ
ทำความสะอาดร่างกายผู้ป่วยวันละ 2 ครั้ง เพื่อดูแลความสะอาดของผิวหนังและเพิ่มความชุ่มชื้นโดยการทาครีมทาผิว
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์และซับให้แห้งทุกครั้งหลังผู้ถ่ายอุจจาระ เพื่อป้องกันการเกิดแผลบริเวณก้น
จัดเตียงและผ้าปูที่นอนให้เรียบตึง เพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับบริเวณที่ผิวหนังสัมผัสกับผ้า
ดูแลให้ได้รับน้ำและสารอาหารอย่างเพียงพอ สูตรอาหาร BD1.2:1 300x4 feed LF
ติดตามผล lab albumin เพื่อประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ
วัตถุประสงค์ ป้องกันการเกิดแผลกดทับ
การประเมินผลการพยาบาล
ข้อมูลสนับสนุน
OD
Braden score=11 คะแนน (คะแนน10-12อยู่ระดับความเสี่ยงสูง)
ผลlab albumin ต่ำ 3.1 g/dL (ค่าปกติ3.5-5.2)
ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
SD-
กรณีศึกษา
PI : 5 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยซึมลง ปลุกไม่ตื่น ไม่มีชัก ไม่มีศีรษะกระแทก ไม่มีไข้ ไม่มีอาเจียน ไม่มีสำลักอาหาร หายใจเหนื่อยหอบ ญาติให้ออกซิเจนแล้วอาการไม่ดีขึ้นจึงมาโรงพยาบาล
CC : ซึมมลง 5ชั่วโมงก่อนมมาโรงพยาบาล
General appearance : ผู้ป่วยหญิงไทยสูงอายุ อายุ 64 ปี ระดับความรู้สึกตัวน้อยแต่สามารถทำตามคำสั่งได้ สามารถยกแขน-ขาได้ทั้งสองข้าง E2M5VT ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ หายใจ ET Tube No.7.5 #22 on ventilator pcv mode ไม่มีหายใจหอบเหนื่อย On NG Tube ที่รูจมูกขวา รับประทานอาหารทางสายยาง สูตรอาหาร BD1.2:1300x4 feed LF feed รับได้ R/F ปัสสาวะสีเหลืองใส
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
โรคประจำตัว
DM
DLP
แพ้ยา Ciprofloxacin มีอาการเป็นผื่นคัน
ประวัติการผ่าตัด
เคยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า เมื่อ 20 ปีก่อน
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 64 ปี
Dx.Brain stem stroke
ยา
Cef-3 2g vein (off 26/09/62)
กลไกการออกฤทธิ์ของยา Ceftriaxone คือ เซฟไตรอะโซนเป็นยาปฏิชีวนะกลุ่มเซฟาโลสปอริน (cephalosporin) ตัวยามีฤทธิ์เข้าจับกับ penicillin-binding protein (PBPs) ที่จะยับยั้งกระบวนการทรานส์เปปทิเดชันในขั้นตอนสุดท้ายของการสังเคราะห์เปปทิโดไกลแคนของผนังเซลล์ของแบคทีเรีย เป็นผลให้ยับยั้งสารชีวสังเคราะห์ของผนังเซลล์แบคทีเรียและหยุดการประกอบโครงสร้างของผนังเซลล์
ผลข้างเคียง : คลื่นไส้ อาเจียน เม็ดเลือดขาวสูง โลหิตจาง ผื่นแดง ไข้ หนาวสั่นการเพิ่มขึ้นของระดับ AST ALT BUN ในกระแสเลือด ปวดบริเวณที่ฉีด ผลข้างเคียงที่รุนแรง ได้แก่ การแพ้ยา อาการท้องเสียที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อ Clostridium difficile (CDAD) ภาวะโลหิตจางจางเม็ดเลือดแดงสลาย
Omeprazole 20mg 1x1 oral pc
กลไกการออกฤทธิ์ของยาคือ เป็นโครงสร้างในกลุ่มเบนซิมิดาโซล (benzimidazole) ยับยั้งการหลั่งกรดที่รู้จักกันในชื่อกลุ่มยับยั้งโปรตอนปั๊ม (proton pump inhibitor) ยาขัดขวางการหลั่งกรดในขั้นตอนสุดท้าย โดยเข้ายับยั้งอย่างจำเพาะเจาะจงกับเอนไซม์โปรตอน / โพแทสเซียม เอทีพีเอส (H+/K+ ATPase) ที่เป็นเอนไซม์อยู่บน parietal cell ในกระเพาะอาหาร
ผลข้างเคียง : อาจก่อให้เกิดการท้องเสียจากการติดเชื้อ clostridium difficile (CDAD) กระดูกหักที่มีสาเหตุจากกระดูกพรุนปวดศีรษะ ผื่นแดง มึนงง อ่อนเพลีย อาการไอ ปวดหลังหรือปวดท้อง ไม่ควรใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ยานี้ การใช้ยาเกินขนาดอาจทำให้รู้สึกสับสน ซึมเศร้า อาเจียน คลื่นไส้ ปวดศีรษะ
Atorvastatin 1x1 oral pc
ควบคุมอาหารเพื่อลดระดับไขมันคอเลสเตอรอล (Cholesterol) ชนิดเลวและไขมันชนิดอื่นๆ เช่น ไขมัน LDL และไตรกลีเซอไรด์ (Triglycerides) และช่วยเพิ่มระดับไขมันมันคอเลสเตอรอลชนิดดีในเลือด (ไขมัน HDL)
การใช้ยา Atorvastatin อาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงที่พบได้บ่อยหลายอย่าง เช่น ปวดตามข้อ ท้องเสีย มีอาการอักเสบที่คอและจมูก หรืออาจมีอาการติดเชื้อที่ทางเดินปัสสาวะ นอนไม่หลับ ปวดขา ปวดกล้ามเนื้อแขนและขา กล้ามเนื้อเกร็ง และคลื่นไส้
Sertraline 1x1 oral hs
กลไกการออกฤทธิ์ของยาคือ เซอร์ทราลีน เป็นอนุพันธ์ของแนฟทาลีนามีน ซึ่งยับยั้งการดูดกลับของเซโรโทนิน (5-HT) ที่บริเวณ presynaptic อย่างจำเพาะเจาะจง เซอร์ทราลีนมีฤทธิ์ต่อการดูดซึมนอร์อิพิเนปฟรีน และโดปามีนที่อ่อนมาก
อาจก่อให้เกิดอาการท้องผูก ท้องเสีย อาหารไม่ย่อย คลื่นไส้ อาเจียน มึนงง ปวดศีรษะ นอนไม่หลับ ง่วงซึม ลดความต้องการทางเพศ อ่อนเพลีย ผลข้างเคียงอันไม่พึงประสงค์ที่รุนแรง ได้แก่ ผื่นแพ้ยาแบบ Steven-Johnson syndrome ภาวะโซเดียมในเลือดต่ำ เลือดออกในระบบทางเดินอาหาร ภาวะ anaphylaxis การสลายตัวของกล้ามเนื้อลาย ภาวะซึมเศร้ากำเริบ ความคิดฆ่าตัวตาย กลุ่มอาการ serotonin อาการชัก (เกิดได้น้อย) ภาวะมาเนีย (mania) (เกิดได้น้อย)
Tazocin 4.5 g + 0.9%NSS 100 ml IV vein drip (off 30/09/62)
กลไกการออกฤทธิ์ : ยาออกฤทธิ์โดยยับยั้งไม่ให้แบคทีเรียสร้างผนังเซลล์มีผลให้แบคทีเรียตาย
ผลข้างเคียง
การอักเสบของปากและริมฝีปาก อาการแพ้อย่างรุนแรง อาการคัน อาหารไม่ย่อย ความรู้สึกของความเจ็บป่วย ค่าเลือดผิดปกติ อาเจียน เอนไซม์ในตับเพิ่มขึ้น ความดันโลหิตต่ำ ผื่นผิวหนัง
ASA 1x1 oral pc
กลไกการออกฤทธิ์ของยาแอสไพริน คือ การยับยั้งเอนไซม์ในร่างกายที่ทำให้เกิดสารอักเสบ ซึ่งมีชื่อว่า ไซโคลออกซิจีเนส หรือเรียกชื่อเอนไซม์นี้อย่างย่อๆ ว่า ค็อกซ์ (cyclooxygenase: COX) นอกจากนี้ เอนไซม์ค็อกซ์ (COX enzyme) ยังกระตุ้นการสร้างสารที่ทำให้เกิดการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด ที่มีชื่อว่า ทร็อมบ็อกเซนเอทู thromboxane-A2 ดังนั้น ผลที่ได้จากการใช้ยาแอสไพริน นอกจากจะบรรเทาอาการอักเสบแล้ว ยังทำให้เกล็ดเลือดเกาะกลุ่มกันได้ยากมากขึ้น ซึ่งขนาดยาที่สูงของแอสไพริน (325-650 มิลลิกรัม ต่อครั้ง) จะได้ผลดีในการบรรเทาอาการปวดและอักเสบ2-3 ส่วนขนาดยาที่ต่ำของแอสไพริน (75-150 มิลลิกรัมต่อวัน) มีผลการรักษาที่ดีในแง่ฤทธิ์ต้านเกล็ดเลือดฤทธิ์ในการต้านการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด หรือที่เรียกง่ายๆ ว่า ฤทธิ์ต้านเกล็ดเลือ ทำให้ยานี้ถูกใช้ในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการอุดตันของหลอดเลือด เช่น เส้นเลือดหัวใจอุดตัน เส้นเลือดสมองอุดตัน
ผลข้างเคียงที่พบบ่อยจากการใช้ยาแอสไพรินในข้อบ่งใช้เพื่อการต้านเกล็ดเลือด คือ ระคายเคืองทางเดินอาหาร ซึ่งสามารถป้องกันหรือบรรเทาได้โดยการรับประทานหลังอาหารทันที หรือรับประทายาเม็ดที่มีการเคลือบด้วยสารที่ควบคุมให้เม็ดยาเกิดการปลดปล่อยตัวยาที่ลำไส้เล็ก (enteric-coated tablet) เพื่อลดการสัมผัสของยาและกระเพาะอาหารที่มีความเป็นกรดสูงมาก
Amitriptyline1x1 hs
กลไกการออกฤทธิ์:เป็นยาต้านซึมเศร้ากลุ่มไตรไซคลิก (Tricyclic Antidepressant) ทำงานโดยปรับปริมาณสารเคมีในสมองที่ไม่สมดุลกันซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะซึมเศร้าให้กลับมาเป็นปกติ
ผลข้างเคียง:บวมที่ริมฝีปาก ลิ้น ลำคอ ใบหน้า หายใจลำบาก เกิดลมพิษ
Meropenem 1 g + 0.9% NSS 100 ml IV vein drip
กลไกการออกฤทธิ์ของยา Meropenem เป็นยาต้านแบคทีเรียที่มี β-lactam ring อยู่ในโครงสร้าง (beta-lactam antibacterial) จัดอยู่ในกลุ่ม carbapenems ยาสามารถแทรกเข้าในผนังเซลล์ของแบคทีเรียส่วนใหญ่ทั้งชนิดแกรมบวกและแกรมลบ ยาจับกับ penicillin-binding protein และออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้างผนังเซลล์
ผลข้างเคียงที่พบจากการใช้ยา Meropenem ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ท้องผูก มีอาการปวด บวม หรือแดงบริเวณที่ฉีดยา มีแผลในปากหรือลำคอ เป็นเหน็บ นอนยากหรือง่วงนอนตลอดเวลา
Problem list
DTX
23/09/62
11.00น.=309
15.00น.=270
06.00น.=240
20.00น.=221
25/09/62
11.00น.= 283
15.00น.= 329
06.00น.= 106
20.00น.= 243
24/09/62
11.00น.=206
15.00น.=195
06.00น.=175
20.00น.=184
26/09/62
11.00น.= 199
15.00น.= 260
06.00น.= 248
20.00น.= 318
28/09/62
11.00น.=296
15.00น.= 287
06.00น.= 276
20.00น.= 214
27/09/62
11.00น.=244
15.00น.= 319
06.00น.= 179
20.00น.= 174
29/09/62
11.00น.= 259
15.00น.= 200
06.00น.= 221
20.00น.= 233
การตรวจพิเศษ
CT non contrast (27/09/62)
Old infarction at left cerebellar hemisphere
brain atrophy
Well-visualized small hypodense lesion at left thalamus, left-sided midbrain and pons, possibly subacute infarction. Further MRI is suggested if clinical indicates.
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ (23/09/62)
เคมีคลินิก
Creatinine 052 ต่ำ
ALT 116 สูง
Phosphorus
27/09/62 = 3.3 ปกติ
25/09/62= 2.1 ต่ำ
Na
(29/09/62)=132 ต่ำ
(30/09/62)=136 ปกติ
albumin (30/09/62) 3.1ต่ำ
CBC
WBC สูง 13.87
27/09/62 = 11.42
30/09/62 = 10.39
29/09/62 = 10.58
Neutrophil
(23/09/62) = 77.8 สูง
(30/09/62) = 69 ปกติ
จุลชีววิทยา
HCO3 std สูง 13.2 mmol/L (1-1.3)
pCO2ต่ำ 16.0 mmHG(32-46)
LP
sugar สูง 112 mg/dL (่ค่าปกติ 40-70)
protein สูง 56.9 mg/dL (่ค่าปกติ 14-45)
sputum culture(25/09/62)
gram negative bacili
klebsiella pneumoniae
พยาธิสภาพ
Brain stem stroke
โรคหลอดเลือดสมอง (stroke)
เกิดจากอุดตันของหลอดเลือดจนทำให้เลือดไปเลี้ยงสมองไปเพียงพอ ส่วนใหญ่แล้วมักเกิดร่วมกับภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง ซึ่งมีสาเหตุมาจากไขมันที่เกาะตามผนังหลอดเลือดจนทำให้เกิดเส้นเลือดตีบแข็ง
โรคหลอดเลือดขาดเลือดจากภาวะหลอดเลือดสมองตีบ (Thrombotic Stroke)
เป็นผลมาจากหลอดเลือดแดงแข็ง (Atherosclerosis) เกิดจากภาวะไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ทำให้เลือดไม่สามารถไหลเวียนไปยังสมองได้
โรคหลอดเลือดขาดเลือดจากการอุดตัน (Embolic Stroke)
เกิดจากการอุดตันของหลอดเลือดจนทำให้
เลือดไม่สามารถไหลเวียนไปที่สมองได้อย่างเพียงพอ
อาการสามารถพบอาการได้หลายรูปแบบ ขึ้นกับตำแหน่งของสมองที่เกิดการขาดเลือดหรือถูกทำลาย
อาการชา หรือสูญเสียความรู้สึกของร่างกายส่วนใดส่วนหนึ่ง เช่นเดียวกับอาการอ่อนแรงที่มักเกิดกับร่างกายครึ่งซีกใดครึ่งซีกหนึ่ง
มีปัญหาเกี่ยวกับการพูด เช่น พูดไม่ได้พูดติด เสียงไม่ชัด หรือไม่เข้าใจคำพูด
อาการอ่อนแรง หรือมีอาการอัมพฤกษ์ที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
โดยมากมักเกิดกับร่างกายข้างใดข้างหนึ่ง เช่น ครึ่งซีกด้านซ้าย
มีปัญหาเกี่ยวกับการทรงตัว เช่นเดินเซ หรือมีอาการเวียนศีรษะเฉียบพลัน
การสูญเสียการมองเห็นบางส่วน หรือเห็นภาพซ้อน
การวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมอง
การซักประวัติและตรวจร่างกาย แพทย์จะซักประวัติการรักษา อาการ รวมถึงปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ตรวจ
ร่างกายทั่วไป และตรวจร่างกายทางระบบประสาท
การเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมอง (CT Scan) เพื่อดูว่าสมองมีลักษณะของการขาดเลือด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่การตรวจเลือดต่างๆ
การรักษาโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด
ยาต้านเกล็ดเลือด เป็นยาที่ช่วยป้องกันการก่อตัวของเกล็ดเลือด ทำให้การอุดตันลดลง ยาในกลุ่มนี้ที่นิยมใช้ได้แก่ยาแอสไพรินใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในระยะเวลาที่เกิน 4.5 ชั่วโมง และให้เพื่อป้องกันการเกิดซ้ำของโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดในระยะยาว
ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ใช้ในผู้ที่มีอัตราการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติเพื่อป้องกันการเกิดการกลับเป็น
ซ้ำในระยะยาว
ยาละลายลิ่มเลือด ใช้เพื่อละลายลิ่มเลือดที่อุดตันอยู่ ซึ่งจะทำให้เลือดไหลเวียนได้สะดวกมากขึ้น ยิ่งได้รับเร็วประสิทธิภาพในการรักษาก็จะยิ่งดีขึ้น
ก้านสมอง Brain stem
Pons
ศูนย์ควบคุมที่เกี่ยวกับการเคี้ยว การเคลื่อนไหวของตา การแสดงสีหน้า การกระพริบตา การทรงตัว และการได้ยิน
ผู้ป่วยมีปัญหาทางการเคี้ยวอาหาร จึงได้รับอาหารทางสายยางผ่านทาง NG-Tube ผู้ป่วยไม่สาารถกระพริบตาและกลอกตามองตามสิ่งของไปด้านขวาได้
Medulla oblongata
ศูนย์ควบคุมที่เกี่ยวข้องกับการทรงตัว การได้ยิน การกลืน การหายใจ การอาเจียน และการไหลเวียนโลหิตด้วย
ผู้ป่วยมีอาการซึมลง ปลุกไม่ตื่น หายใจเหนื่อยหอบ สามารถยกแขน-ขาตามคำสั่งได้ แต่ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้เอง
Midbrain
ศูนย์ควบคุมที่เกี่ยวข้องกับการได้ยินและการมองเห็น
Pneumonia
สาเหตุของโรคปอดอักสบ
เชื้อโรคที่เข้าสู่ปอดและทำให้เกิดการอักเสบของถุงลมปอดและเนื้อเยื่อโดยรอบ ได้แก่ เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย และเชื้อรา ซึ่งเชื้อที่พบจะแตกต่างกันในแต่ละกลุ่มอายุ และสภาพแวดล้อมที่เกิดโรค เช่น ได้รับเชื้อจากที่ชุมชนทั่วไป หรือจากภายในโรงพยาบาล
ทั้งนี้ เชื้อแบคทีเรียที่พบมักได้แก่ เชื้อ Streptococcus pneumoniae, เชื้อ Haemophilus influenzae type b, เชื้อ Chlamydia pneumoniae, เชื้อ Legionella spp. และเชื้อ Mycoplasma pneumoniae ส่วนเชื้อไวรัส ได้แก่ เชื้อ Respiratory Syncytial Virus (RSV), เชื้อ Influenza หรือเชื้อไข้หวัดใหญ่ และเชื้อราจากมูลนกหรือซากพืชซากสัตว์
ปอดอักเสบในโรงพยาบาล (hospital-acquired pneumonia) HAP
ปอดอักเสบจากการติดเชื้อที่เกิดขึ้นหลังจากผู้ป่วยนอนรักษาในโรงพยาบาลแล้วอย่างน้อย 48-72 ชั่วโมง
Ventilator-Associated Pneumonia (VAP)
การติดเชื้อในเน้ือปอดซ่ึงเกิดข้ึนหลงัจากผปู้่วยไดร้ับการใส่ท่อช่วยหายใจและได้ร้ับการใช้เครื่องช่วยหายใจเป็นระยะเวลาอย่างนอ้ย 48 ชั่วโมง
ปอดอักเสบชุมชน (Community-acquired pneumonia) CAP
ปอดอักเสบอันเนื่องจากการติดเชื้อจุลินทรีย์นอกโรงพยาบาล เกณฑ์การวินิจฉัยปอดอักเสบชุมชนนั้น ผู้ป่วยจำเป็นต้องมีรอยหรือปื้นฝ้าขาวเกิดขึ้นใหม่ในภาพรังสีของทรวงอก ร่วมกับอาการบ่งชี้ถึงการติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนล่าง เช่น อาการไอ อาการและภาพถ่ายรังสีของทรวงอกที่เปลี่ยนแปลงนี้ควรเกิดค่อนข้างเฉียบพลันหรือไม่เกิน 2 สัปดาห์
อาการ
เจ็บหน้าอกขณะหายใจ
หายใจเร็ว หายใจหอบ หายใจลำบาก
มีไข้เหงื่อออก หนาวสั่น
คลื่นไส้อาเจียน หรือท้องเสีย
อ่อนเพลีย
ไอมีเสมหะ
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ตรวจนับเม็ดเลือดขาวในเลือด เพื่อดูว่ามีการติดเชื้อหรือไม่ แต่ยังไม่สามารถแยกชนิดของเชื้อโรคได้อย่างชัดเจน
ตรวจวัดออกซิเจนในเลือด เพื่อดูประสิทธิภาพของปอดในการลำเลียงออกซิเจนเข้าสู่กระแสเลือดว่าลดลงหรือไม่
ฟังปอด
crepitation
ronchi
Wheezing
ตรวจและเพาะเชื้อจากเสมหะและเลือด เพื่อหาชนิดของเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรค
การตรวจพิเศษ
Chest X-ray
การซักประวัติ สอบถามอาการโดยเฉพาะอาการไอแบบมีเสมหะ มีไข้ และหายใจหอบ
การรักษา
การรักษาแบบประคับประคองตามอาการ สำหรับผู้ป่วยโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัส และเชื้ออื่นๆ ซึ่งแพทย์อาจพิจารณาให้ยาลดไข้ ยาขยายหลอดลม ยาละลายเสมหะ ในรายที่มีอาการรุนแรงอาจจำเป็นต้องให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ให้ออกซิเจน และทำกายภาพบำบัดทรวงอก
การรักษาภาวะแทรกซ้อน เป็นกรณีที่พบได้ในกลุ่มเสี่ยง โดยภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยได้แก่ เชื้อแบคทีเรียแพร่กระจายจากปอดเข้าสู่กระแสเลือดส่งผลให้อวัยวะอื่นๆ ติดเชื้อตามไปด้วย บางรายอาจพบฝีในปอด หรือเกิดภาวะมีน้ำในโพรงเยื่อหุ้มปอดที่จำเป็นต้องเจาะหรือดูดออก ในรายที่อาการรุนแรงมาก ผู้ป่วยอาจเกิดภาวะหายใจล้มเหลวซึ่งเป็นอันตรายถึงชีวิตและจำเป็นต้องใส่ท่อเข้าหลอดลมร่วมกับเครื่องช่วยหายใจ
การให้ยาปฏิชีวนะ ใช้ในกรณีของการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยแพทย์จะเลือกใช้ยาปฏิชีวนะตามเชื้อที่คิดว่าเป็นสาเหตุของโรคจากข้อมูลทางคลินิกและทางระบาดวิทยา อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันพบว่าการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างแพร่หลายอาจทำให้เชื้อบางชนิด เช่น Streptococcus pneumoniae มีการดื้อยาเพิ่มมากขึ้น
RI scale
231-280 RI 6 Unit sc
331-380 RI 10 Unit sc
281-330 RI 8 Unit sc
181-230 RI 4 Unit sc