Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เตียง 10 DX: sepsis c sinus Bradycydia (Problem list (มีภาวะNaต่ำ(Na=133),…
เตียง 10 DX: sepsis c sinus Bradycydia
พยาธิ
sepsis c sinus
เริ่มต้นจากการติดเชื้อจากในตัวผู้ป่วย ทำให้มีการกระตุ้น host defense system ให้หลั่ง mediator ต่างๆ จะไปกระตุ้นการสร้างและหลั่ง cytokine ต่างๆกระตุ้นcomplement pathway, coagulation system,platlet activating factor ส่งผลให้มี inflammatoryresponse ทั่วร่างกาย
การวนิจฉัย
อาศัยอาการและอาการแสดงของ ภาวะ Shockและหลัก ฐานของSIRS ร่วมกับการติดเชื้อในร่างกาย
chest x ray
เจาะ CBC
sputum culture
การรักษา
การกำจัดเชื้อและแหล่งเกิดเชื้อ
ให้ยาปฏิชีวนะ กำจัดแหล่งติดเชื้อ
ให้ Intensive life support
การให้สารน้ำ ( Fluid therapy)
การใช้ vasopressure และ inotrope
3.การใช้ hemodynamic monitoring
การให้ renal support
การให้ pulmonary suppor
การรักษษอื่นๆ
Bradycydia
Bradycardia (หัวใจเต้นช้ากว่าปกติ) คือ ภาวะที่อัตราการเต้นของหัวใจต่ำกว่า 60 ครั้งต่อนาที
การวินิจฉัย
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiogram, ECG) แพทย์จะนำขั้วไฟฟ้าซึ่งมีตัวรับสัญญาณแตะที่หน้าอกและแขนของผู้ป่วย เพื่อบันทึกสัญญาณไฟฟ้าที่วิ่งผ่านหัวใจ
ทดสอบด้วยเตียงปรับระดับ (Tilt Table Test) การทดสอบนี้จะช่วยวินิจฉัยภาวะ Bradycardia ที่ทำให้ผู้ป่วยเป็นลม โดยให้ผู้ป่วยนอนลงบนเตียง และปรับระดับเตียงในระดับต่าง ๆ เพื่อดูการเกิดอาการเป็นลม
ทดสอบสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย (Exercise test)
การรักษา
การรักษาสาเหตุที่ทำให้หัวใจเต้นช้า
การปรับเปลี่ยนยา แพทย์อาจรักษาภาวะหัวใจเต้นช้ากว่าปกติให้ผู้ป่วยด้วยการใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ
การใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ (Pacemaker)
ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
ควรจัดให้อยู่ในท่า semirecumbent ศีรษะสูง45องศา เพื่อป้องกันการเกิด ventilator-associated pneumonia
ข้อบ่งชี้
มีความรู้สึกตัวดี
สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ไม่มีภาวะ serious
ใช้ ventilation ขนาดต่ำ
Data Base
chief complaint: มีไข้ เหนื่อย ซึมลง 6 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาบล
present illness: 10 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ หนาวสั่น เหนื่อยง่าย 2วันก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการเหนื่อยมากขึ้นหอบ เพลียมากขึ้น ซึมลง หนาวสั่น ทานได้น้อยลง
Genaral appearance
ผู้เป่วยหญิงไทย อายุ 82 ปี รูปร่างผอมผิวสองสีผิวหนังเหี่ยวย่น ผมสีดำปนสีขาว ผู้ป่วยเป็น bedridden ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ สามารถลืมตาได้เองเมื่อเรียก ที่จมูกมีสาย NG Tube ที่คอมี Tracheotomy tube ต่อกับเครื่องช่วยหายใจ bipap pct mode ทีแผลกดทับที่coccyx stage 3 ขนาด 3x4 cm ผู้ป่วยใส่แพมเพิร์ส
past illness
bipolar disorder
anemia
Atrial fibrillation (ป็นภาวะการเต้นผิดปกติของหัวใจ )
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่1
ข้อมูลสนับสนุน
O.D. - ผู้ป่วยไม่สามารถไอขับเสมหะออกเองได้
มีเสมหะจำนวนมากในปากและลำคอ
หายใจมีเสียงครืดคราด
ดูดเสมหะได้สีขาวขุ่น จำนวนมาก
c- O2 Saturation 96 % ขณะ On เครื่องช่วยหายใจbipap pct
อัตราการหายใจ 26 ครั้ง/นาที
ฟังเสียงปอดได้ยินเสียง crepitation
วัตถุประสงค์
ป้องกันการอุดกั้นของทางเดินหายใจและส่งเสริมให้ร่างกายได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
1.พร่องออกซิเจนเนื่องจากมีการมีเสมหะเหนียวข้น
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยไม่เกิดอาหารขาดออกซิเจน
ทางเดินหายใจโล่ง ฟังเสียงหายใจไม่มีเสียงเสมหะ
อัตราการหายใจปกติ อยู่ระหว่าง 16-24 ครั้ง/นาที
O2 Saturation ≥ 95%
ฟังเสียงปอดทั้งสองข้างไม่ได้ยินเสียง Crepitation
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพทุก4ชั่วโมง
ฟังเสียงหายใจและเสียงปอด
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนตะแคงศีรษะสูง
ดูแลให้ได้ O2 เครื่องช่วยหายใจbipap pct
ดูแลให้ได้รับยา Berodual 1 NB q 6 hr c prn
ติดตามผลการตรวจ Chest X-ray
1.ประเมิณการพร่องออกซิเจนของผู้ป่วย
8.จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบและสะอสดเรียบร้อย
การประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยไม่มีลักษณะพร่องออกซิเจน ปลายมือ ปลายเท้าไม่เขียว
ค่า o2 sat อนู่ที่ 95-100
ผู้ป่วยมีเสมหะที่เหนียวข้นลดน้อยลง
ผู้ป่วยหายใจได้โล่งขึ้น
เสี่ยงต่อการพร่องออกซิเจนเนื่องจากภาวะซีด
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ร่างกายได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ข้อมูลสนับสนุน
Hb=8.6
Hct= 28.8
สีผิวของผู้ป่วยเป็นสีขาวซีด
ผู้ป่วยได้รับยา folic 5 MG.tab
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยไม่มีภาวะ cyanosis
ค่า o2 sat 95-100 %
ค่า v / s ปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
4.ประเมินสัญญาณชีพทกุ 4ชั่วโมง
ลดการใช้ออกซิเจนของผู้ป่วยโดยการให้ผู้ป่วยนอนพักบนเตียงพักผ่อ นมากๆ จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ
ให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารfeedตามแผนการรักษาของแพทย์
สังเกตอาการเหนื่อย อ่อนเพลียของผู้ป่วย
1.ประเมิณการพร่องออกซิเจนของผู้ป่วย
6.ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ เช่าน ค่าHb Hct
การประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยไม่มีลักษณะพร่องออกซิเจน ปลายมือ ปลายเท้าไม่เขียว
ค่า o2 sat อนู่ที่ 95-100
Problem list
มีภาวะNaต่ำ(Na=133)
มีแผลกดทับ
พร่องออกซิเจนเนื่องจากซีด
ภาวะแซกซ้อนจากการได้รับยาEnoxaparin
มีภาวะซีด
bedridden
มีภาวะของเสียคั่งในร่างกาย
พลัดตกหกล้ม
มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นDeep vein thrombosis
มีการติดเชื้อที่ปอด
ยาที่ได้รบ
Mixtard
Chelamag100mg1x3opcรับประทานครั้งละ1เม็ด 3 เวลา หลังอาหาร
ยารักษาภาวะขาดแม็กนีเซี่ยมในยร่างกาย
Enoxaparin 0.4 ml sc bid ฉีด 0.4 ml ชั้นใต้ผิวหนังวัน ละครั้ง
ช่วยละลายลิ่มเลือด
Berodual 1 nb q 6 hr ยาพ่น 1 NB ทกุ 6 ชั่วโมง
L a c t u l o s e s y r u p 3 0 m l
รับประทานครั้งละ 30 ml ก่อ นนอนถ้าไม่ถ่าย >3 วัน
รักษาอาการท้องผูก รักษาผู้ป่วยตับที่มีระดับแอมโมเนียในเลือดสูง
Paracetamol 500 mg tab
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด ทุก 4 ชม เวลาปวดหรือ มีไข้
บรรเทาอาการปวดลดไข้
Bisoprolol Fumarate 2.5 mg tab
รับประทานครั้งละ เศษหนึ่งส่ว นสี่เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า
ยากลุ่มเบต้าบล็อกเกอร์ ช่วยลดอัตราการเต้นของหัวใจไม่ให้หัวใจทำงานหนักเกินไป และ รักษาภาวะอัตราการเต้นของหัวใจผิดปกติ
Folic Acid 5 mg tab
รับประทานครั้ละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า
วิตามินบี ที่ร่างกายต้องการรักษาโรคโลหิตจางที่เกิดจากการขาดโฟลิก
Acetylcyteine 200 mg granule 1 ซอง ละลายน้ำ 1 แก้ว ดื่มวันละ3ครั้งหลังอาหารเช้ากลางวัน เย็น
ยาช่วยสลายมูกดเหนียวข้นให้เจือจาง เพื่อให้ระบบหายใจขับเสมหะออกมาได้
tazocin 3.375 gm v q 6 hr.
เป็นยาปฏิชีวนะ ออกฤทธิ์ต้านเชื้อทั้งแกรมบวกและแกรมลบ
3.มีภาวะการติดเชื้อที่ปอด
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีไข้ 39.2 องศา (วันที่ 27/09/62)
มีค่า neutrophil สูง ได้ 77.6%(48.1-71.2)
มีค่า lymphocyte ลดลง ได้ 16.3 (21.1-42.7)
มีค่า eosinophil ลดลงได้ 0.1 (0.4-7.2)
ผลsputum cultureได้ Gram positive bacilli
ผู้ป่วยมีลักษณะอ่อนเพลีย หายใจเร็ว
Rr=28ครั้ง/นาที (29/09/62)
วัตถุประสงค์
เพื่อลดการติดเชื้อที่ปอด
เกณฑ์การประเมิน
1.ผู้ป่วยไม่มีไข้ อุณหภูมิปกติ(36.5-37.4 องศา)
ผู้ป่วยไม่มีภาวะอ่อนเพลีย การหายใจปกติ RR=16-24ครั้ง/นาที
ผลsputum culture ไม่พบการติดเชื้อ
มีค่า neutrophil ปกติ (48.1-71.2) มีค่า lymphocyte ปกติ (21.1-42.7) มีค่า eosinophil ปกติ (0.4-7.2)
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
ล้างมือทุกครั้งโดยยึดหลัก 5 moment
ดูแลให้ได้รับสารน้ำ สารอาหารอย่างเพียงพอ
วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง โดยดูอุณหภูมิและการหายใจเป็นสำคัญ
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้รับการนอนหลับ พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
sputum culture
CBC
chest x ray
จัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาด
4.ผู้ป่วยมีภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย(สิ้นสุดไปแล้ว)
ข้อมูลสนับสนุน
มีค่า Naต่ำ=131(136-145)
มีค่าcl ต่ำ=95.3(98-107)
คนไข้มีภาวะอ่อนเพลีย
วัตถุประวงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยมีภาวะสมดุลของสารน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยไม่มีภาวะอ่อนเพลีย
มีค่า Naปกติ (136-145)
มีค่าclปกติ (98-107)
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมิณภาวะแทรกซ้อนของการขาดสมดุลของสารน้ำและเกลือแร่ของคนไข้ เช่น อ่อนเพลีย ปวนศรีษะ คลื่นไส้ อาเจียน
วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับสารน้ำสารอาหารอย่างเพียงพอ
ให้ความรู้การดูแลแก่ญาติ
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
ดูแลให้ได้รับยาและสารน้ำตามแผนการรักษาของแพทย์
การประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยมีค่าผลทางห้องปฏิการปกติ
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจาการขาดสารน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย เช่น อ่อนเพลีย มนงง ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนไป ปวดศรีษะ คลื่นไส้ อาเจียน
5.มีภาวะของเสียคั่งในร่างกาย
ข้อมูลสนับสนุน
24/09/62
Bun 87.0 mg/dL (7.0-18.7)
Creatinie 2.04 mg/dL (0.55-1.02)
eGFR 22.21 mL/min (>90)
26/09/62
Bun 81.5 mg/dL (7.0-18.7)
Creatinine 1.54 mg/dL (0.55-1.02)
eGFR 31.2 mL/min/1.73m2
วัตถุประสงค์
ลดภาวะของเสียคั่งในร่างกาย
เกณฑ์การประเมินผล
1.ค่า Bun อยู่ในช่วง 7.0-18.7 mg/dL
2.ค่า Creatinie อยู่ในช่วง 0.55-1.02 mg/dL
กิจกรรมการพยาบาล
1.วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงเพื่อประเมินอาการผิดปกติของผู้ป่วย
2.สังเกตและบันทึกอาการแสดงของภาวะของเสียคั่ง เช่น ระดับการรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง อาการคลื่นไส้ อาเจียน อาการสับสน
3.ให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนที่เพียงพอ
4.ดูแลให้ได้รับสารน้ำและยาตามแผนการรักษาของแพทย์
5.บันทึกสารน้ำเข้า ปัสสาวะที่ออก ทั้งลักษณะและปริมาณ
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ BUN,Creatinine เพื่อประเมินระดับของเสียในร่างกาย
การประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยไม่มีอาการระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงเช่น คลื่นไส้ อาเจียน สับสน
ผลตวรจทางห้องปฏิบัติการ(26/0962)
ค่าBUN=81.5 md/dl
creatinine=1.54 md/dl
eGFR=31.2
6.ผู้ป่วยเสี่ยงมีภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากได้รับยา Enoxaparin
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยได้รับยา Enoxaparin 0.4 ml sc bid ฉีด 0.4 ml ชั้นใต้ผิวหนัง วันละครั้ง
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยา
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยไม่มีภาวะเลือดออกผิดปกติ
ผู้ป่วยไม่มีอาการแพ้ยา
ผู้ป่วยไม่มีอาการอ่อนเพลีย มึนงง และปวดศรีษะ
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4ชั่วโมงโดยเฉพาะอัตราการหายใจของผู้ป่วย เพื่อจะดูอาการแพ้ยา
สังเกตอาการแพ้ยาของผู้ป่วย เช่น มีผื่นขึ้น หายใจลำบาก แน่นหน้าอก มีอากบวมที่ใบหน้า แขน ขา มีไข้
3.ก่อนฉีดยาให้ดูตำแหน่งที่ฉีดยาห้ามซ้ำกับตำแหน่งเดิม เพราะจะทำให้เกิด bleeding ได้ง่าย
หลังจากฉีดยาห้ามคลึงบริเวณที่ฉีดเพราะอาจทำให้เกิดเลือดออก
5.ให้การพยาบาลผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวล
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ เช่น ค่า PT PTT INR
การประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยไม่มีอาการแทรกซ้อนจากการได้รับยา เช่น อ่อนเพลีย มึนงง ปวดศรีษะ
ผู้ป่วยไม่มีไข้ อุณหภูมิได้ 36.9 องศา(26/0962)
ไมีมีภาวะเลือดง่าย