Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pneumonia (โรคปอดอักเสบ) : (ยา (folic acid 1x1 o pc ผลข้างเคียง…
Pneumonia
(โรคปอดอักเสบ) :
ความหมาย
การที่ปอดได้รับอันตรายจากการติดเชื้อหรือจากสาเหตุอื่นส่งผลให้เนื้อเยื่อปอดซึ่งประกอบดเวยหลอดลมฝอยส่วนปลายสุดและถุงลมเกิดการอักเสลอย่างเฉียบพลันและทำให้ของเหลว ซึ่งประกอบไปด้วยพลาสมาและเม็ดเลือดขาวที่เรียกว่า exudates เข้าไปอยู่ในถุงลมเนื้อปอดจึงเกิดการแข็ง
ข้อมูลผู้ป่วย
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 81 ปี
Dx. Pneumonia
อาการสำคัญ ไม่ทานข้าว เหนื่อย มีเสมหะ 2 ชั่วโมง PTA
การเจ็บป่วยในอดีต
Dm
HT
DLP
เป็นประมาณ 5 ปี รักษาที่ รพ.ตร.
PI : 2 วัน PTA ผู้ป่วยไม่รับประทานข้าว ไอมากขึ้น มีเสมหะก้อนใหญ่สีแดงเข้ม มีน้ำมูก มีไข้ วันที่ 19 ก.ย. 62 มีไอมากขึ้น มีเสมหะมาก ญาติจึงน้ำส่ง รพ.
GA: ผู้ป่วยหญิงไทย ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ Semi conscious conjunctiva สีแดง ไม่ซีด ส่ NG Tube สำหรับ feed ยาและอาหาร ผู้ป่วยได้รับอาหารตามแผลการรักษาเป็นe BD (1.5:1)200*4 feed หายใจ on ventilater ps mode ps 10 PEEP 7 Fio2 =0.3 on ET-tube เบอร์ 7.5 masker 21 ฟังเสียงปอดได้ยินเสียง crepitation ข้างขวามากว่าข้างซ้าย มื้อทั้ง 2 ข้างบวมกด บุ๋ม +3 on foley ลักษณะปัสสาวะสีเหลืองใส ไม่มีตะกอน on injection plug ที่ขาซ้าย และเท้าขวา สำหรับให้ยาและสารน้ำ
vital signs 2/10/2562 14.00น.
อุณหภูมิ 37.2องศาเซลเซียส ชีพจร 80 ครั้งต่อนาที อัตราการ หายใจ 20 ครั้งต่อนาที ความดันโลหิต 110 / 70 มิลลิเมตรปรอท O2sat 100
ยา
fluimucil 1x3 o pc
การออกฤทธิ์ ยาขับเสมหะ หรือยาละลายเสมหะดยยาจะช่วยสลายมูกเหนียวข้นให้เจือจางลง เพื่อให้ระบบทางเดินหายใจขับมูกเสมหะเหล่านั้นออกมาได้ และช่วยให้ผู้ป่วยหายใจได้สะดวกขึ้นในที่สุด
ผลข้างเคียง คลื่นไส้ อาเจียนมีอาการอักเสบระคายเคืองบริเวณปาก หรือ ลิ้น
simvastatin 20 mg 1x o hr
การออกฤทธิ์ยาลดไขมันในหลอดเลือด
ผลข้างเคียง ปวดศีรษะปวดท้อง ท้องผูก คลื่นไส้
FF 1x1 o pc
การออกฤทธิ์ ยานี้ใช้เพื่อป้องกันและรักษาภาวะเลือดจางจากการขาดธาตุเหล็ก
ผลข้างเคียงหายใจลําบาก ผื่นขึ้น หายใจมีเสียงหวีด แน่นหน้าอก
folic acid 1x1 o pc
ผลข้างเคียง
เวียนศีรษะ
ไม่อยากอาหาร
เรอ ท้องอืด มีแก๊สในกระเพาะอาหาร
clopidogrel 75 mg 1x1 o pc
การออกฤทธิ์ ป้องกันภาวะเส้นเลือดแดงอุดตันเนื่องจากมีลิ่มเลือดในหลอดเลือด
ผลข้างเคียง ลมพิษ มีผื่นขึ้น อาการคัน หายใจลำบาก แน่นหน้าอก
beradual 1 nb q 4 hr เป็นยาขยายหลอดลม
NSS 4 ml q 4 hr พ่นเพื่อให้เสมหะอ่อนตัว
Vit K 10 mg iv OD วันศุกร์ 18น.จำเป็นในขบวนการสร้างสารโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับการแข็งตัวของเลือด
ผลข้างเคียง ทำให้เบื่ออาหาร หายใจลำบาก ตับโตคลำพบได้จากการคลำหน้าท้อง
colistin 150 mg iv q 12 hr ยาปฏิชีวนะรักษาการติดเชื้อแบคทีเรีย
ผลข้างเคียงคัน ท้องไส้ปั่นป่วน และท้องเสีย
sulcef 3gm iv drip in 3 hr. q 12 hr รักษาการติดเชือทางเดินหายใจ
ผลข้างเคียง มีผื่นแดง ลมพิษ คลื่นไส้อาเจียน
Sulam 3 gm iv drip in3 hr q 12 hr ยาปฏิชีวนะที่ขจัดเชื้อที่เป็นสาเหตุโรคปอดอักเสบ
ผลข้าวเคียง คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย
Natear ere drop apply BE bid น้ำตาเทียม
humulin n 16-0-6 unit sc ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ผลข้างเคียง เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ คลื่นไส้อาเจียน
Vitamin B Complex 1x2 o pc เช่น ปวดท้อง พบอาการท้องเสียได้บ้าง อุจจาระมีสีคล้ำ มีผื่นคัน
พยาธิทฤษฏีกับผู้ป่วย
สาเหตุ
มีเชื้อโรคหรือสารเคมีเข้าไปทำให้มีการอักเสบ
สาเหตุส่งเสริม นี้ทำให้การทำงานปอดลดลง ทำให้เชื้อเข้าสู้ปอดได้ง่ายขึ้น
ผู้ที่เป็นโรคปอดมาก่อน เช่น ปอดแฟบ หลอดลมอักเสบเรื้อรัง
โรคภูมิต้านทานต่ำ ระบบภูมิคุ้มกันบกพร่อง เช่น ผู้ป่วยโรคเลือด
โรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน
ผู้ป่วยที่มีการเคลื่อนไหวร่างกายลดลง เช่น ผู้ป่วยนอนติดเตียง
ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อ เช่น ไขหวัดใหญ่ วัณโรค
อาการ
มีไข้สูงประมาณ 39-40 องศสเซลเซียส อาจมีเหงื่อออก หนาวสั่น
มีการไอ อาจพบเสมหะร่วมด้วยกับมีอาการหายใจลำบาก
หายใจเร็วถี่ หอบเหนื่อย
ผิวหนังซีด เขียวคล้ำ
มีอาการเจ็บหน้าอกขณะหายใจ
ปวดกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงกรอบแกรบ crepitation
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
เพื่อค้นหาปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรค
ผุ้ป่วยไม่มีประวัติการสูบบุหรี่
เป็นเบาหวาน
bed ridden
การตรวจร่างกาย
แพทย์จะใช้อุปกรณ์ตรวจฟังเสียงปอด ซึงอาจได้เสียง crepitations หรือ เสียงหายใจเบากว่าปกติ
ฟังเสียงปอดของผู้ป่วยได้ยินเสียง crepitations
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจนับเม็ดเลือดขาว
กรณีที่พบ neutrophil สูง
พบ WBC มากกว่า 12,00 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร หรือน้อยกว่า 4,000 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร
WBC 16.07 10^3/uL
neutrophi 94 %
การย้อมเสมหะ( sputum ) gram stain
numerous pmns
moderate epithelial cell
moderate garm + cocci
moderate garm + bacilli
moderate garm -bacilli
การตรวจเสมหะเพาะเชื้อ มีความไวและจำเพาะต่ำ
การเพาะเชื้อจากเลือด hemoculture
การตรวจปัสสาวะ ในรายที่สงสัยปอดอักเสบในชุมชนรุนแรง
การตรวจ polymerase chain reaction
การตรวจทางรังสีทรวงอก cheat X-Ray โดยพบ infiltration บริเวณที่มีการอักเสบ
percutaneouos lung aspirationand culture จากผู้ป่วยที่ไม่สามารถตรวจจากเชื้อเสมหะได้
Bronchoscope เป็นการส่องกล้องหลอดลมส่วยปลาย เพื่อดูดเสมหะ
การรักษา
การรักษาทางยา
ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยที่ไม่มีโรคร่วมด้วย กลุ่ม macrolide ได้แก่ azithromycin,clarithromycin, doxycycline
ผู้ป่วยที่มีโรคร่วมด้วย เช่น moxifloxacin,levofloxacin
ผู้ป่วยใน respiratory flouroquinoline,beta-lactam moxifloxacin,
ผู้ป่วยวิกฤต beta-lactam plusmacr
oxygen therapy
เพื่อป้องกันเกิดภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำและภาวะหายใจล้มเหลว
Cannula
mask
การใส่ท่อช่วยหายใจ
ผู้ป่วย on ET-ture 7.5 masker 20
3.การใส่ท่อระบายทรวงอก icd จะใช้เมื่อ มีน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด
4.การรักษาแบบประคับประคอง
การให้สารนำ้สารอาหารอย่างเพียงพอ
การควบคุมอุณหภูมิร่างกายให้ปกติ
ป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
Problem lists
ผล x-ray ปอดพบ Infiltration of right
ฟังเสียงปอดได้ยินเสียง crepitation
Hct 24.9% Hb 8.5 %
ข้อวินิจฉัยข้องที่ 2เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากภาวะซีด
ข้อมูลสนับสนุน
Hct 25.7% Hb 8.3 % 28/9/62
capillary refill 4 s
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ร่างกายได้รับออกซเจนเพียงพอ
ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะซีด
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการของ cyanosis คือ หายใจหอบเหนื่อย ปลายมือปลายเท้าเขียว
conjunctiva สีแดง ชมพู
O2 sat >= 95%
Hct ปกติ คือ 36.8-46.6 % และ Hb ปกติ 12.3-15.5 g/dl
เหงือและริมฝีปากไม่ซีด
capillary refil 2 s
กิจกรรมทางการพยาบาล
ประเมินภาวะซีดจากอาการเหนื่อยอ่อนเพลียของผู้ป่วย และอาการหายใจหอบเหนื่อย ปลายมือปลายเท้าเขียว
ดูแลให้ Folic 1x1 oral pc สังเกตออาการข้างเคียง คือ เวียนศรีษะ ไม่อยากอาหาร
ดูแลให้ FF 1x2 oral pc สังเกตอาการข้างเคียง คือ หายใจลําบาก ผื่นขึ้น หายใจมีเสียงหวีด แน่นหน้าอก
vital sign ทุก 4 ชั่วโมง
ประเมิน o2 saturation ทุก 4 ชมเ
ติดตามผล lab hb hct
4.ตรวจดู conjunctiva เหงือริมฝีปาก ว่ามีซีดไหม
การประเมินผล 1/10/62
ผู้ป่วยไม่มีอาการ cyanosis conjunctiva มีสีแดง ไม่ซีด เหงือและริมฝีปากไม่ซีด capillary refil 4 s O2sat 100 % Hct 25.7% Hb 8.3 g/dl
Neutrophil 74.6 %
BUN 20.0mg/dL
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 3 เสี่ยงต่อภาวะของเสียคั่งเนื่องจากไตทำหน้าที่ลดลง
ข้อมูลสับสนุน
creatinine 1.27 mg/dL
BUN 20.0mg/dL
3.edema ระดับ 3+
(กดลงไป 6 มิลลิเมตร เห็นรอยบุ๋มได้ขัด ค้างนานกว่า 1 นาที )
eGFR 39.67 mL/min :
Albumin 2.0 g/dL
I/O 1950/700
วัตุประสงค์
ป้องกันการเกิดอันตรายจากภาวะของเสียคั่ง
เกณฑ์การประเมินผล
1.BUN อยู่ในเกณฑ์ 7.0-18.7 mg/dL
2.creatinin อยู่ในเกณฑ์ 0.55-1.02 mg/dL
ค่า eGFR อยู่ในเกณฑ์ มากกว่า 90 ml/m
4ความดัน systolic 140-90 mmHgdiastolic 90-60 mmHg
กิจกรรมทางกายพยาบาล
2.ประเมินภาวะบวมและค่า lap chemistry เพื่อประเมินความรุนแรง
3.บันทึก น้ำเข้าน้ำออก เพื่อประเมินความสมดุล
1.วัด vital sign ทุก 4 hr เพื่อติดตามค่าความดันโลหิต
ติดตามผล lab BUN Creatinine GFR
การประเมินผล 1/10/62
ผลlab Albumin 2.0 g/dLeGFR 39.67 mL/min :creatinine 1.27 mg/dLBUN 20.0mg/dL บวมกดบุ๋ม +3 I/O + 1150
eGFR 39.67 mL/min :
Albumin 2.0 g/dL
ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
ข้อวินิจฉัยข้อที่5 เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากการนอนติดเตียง
ข้อมูลสนับสนุน
1.. Barden score = 7 (มีการเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับสูงมาก)
2.ผู้ป่วยเป็น Bed Ridden
WBC 11.34 Neutrophil 73.3 %
T=37.8 องศาเซลเซียส
วัตถุประสงค์
1.เพื่อลดการเกิดแผลกดทับ
ลดการเกิดข้อยึดติดและกล้ามเนื้อลีบ
3.การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
เกณฑ์การประเมินผล
1.ผิวหนังผู้ป่วยไม่มีรอยแดงที่เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ
2.ผิวหนังผู้ป่วยสะอาดและมีความชุ่มชื้น
3.Barden score > 16
ไม่เกิดข้อยึดติดและกล้ามเนื้อลีบ
5.WBC ปกติ 4.24-10.18 10^3 /uL neutrophil ปกติ 48.1-71.2 %
6.อุณหภูมิร่างกายปกติ 36.5-37.4 องศาเซลเซียส
กิจกรรมการพยาบาล
การดูแลแผลกดทับ
2.ล้างมือก่อนและหลังทำหัตถการกับผู้ป่วย
3.ดูแลความสะอาดของผู้ป่วย เช่น อาบน้ำ และดูแลให้ความชุ่มชื้นแก่ผิวหนัง โดยการทาโลชั่นหรือแป้ง
4.ป้องกันผิวหนังระคายเคืองและเกิดแผลกดทับจากการไหลซึมของปัสสาวะและอุจจาระ หลังจากมีการไหลซึมของปัสสาวะและอุจจาระ ให้ทำความสะอาดและเช็ดให้แห้ง
5.ป้องกันการคั่งของเลือดและการบวมของขา เพื่อลดการเกิดแผลกดทับ โดยนวดจากส่วนปลายเข้าหาส่วนต้น เพื่อเพิ่มการไหลเวียนของเลือด
6.พลิกตะแคงท่านอนทุก 2 ชั้วโมง โดยจัดท่าให้เหมาะสม เพื่อให้แรงกดจากน้ำหนักตัวกระจายลงบนบริเวณกว้าง โดยให้ปุ่มกระดูกหรือบริเวณที่ได้รับแรกดมากๆลอยตัว
7.จัดเตียงและผ้าปูที่นอนให้สะอาดและเรียบตึงตลอดเวลา เปลี่ยนผ้าปูและที่นอนทุกครั้งที่มีการเปียกชื้นเพื่อลดแรงเสียดทาน
8.ประเมิน Barden score เพื่อติดตามและปรับการดูแลให้เข้ากับแผล
9.ประเมินความสามารถในการทำกิจกรรมต่างๆ
10.ดูแลการรับประทานอาหารของผู้ป่วย ให้ได้สารอาหารครบทุกมื้อ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารอย่างครบถ้วน
1.ประเมินพยาธิสภาพของร่างกายผู้ป่วยและประเมินแผลกดทับ ผิวหนังทั่วร่างกาย โดยเฉพาะบริเวณปุ่มกระดูก เช่น เชิงกราน ก้นกบ สะโพกข้าง ว่ามีลักษณะอย่างไร เช่น มีรอยแดง ผิวขาดความชุ่มชื้น และความสะอาดของผิวหนัง
ดูแลเรื่องข้อยึดติดและกล้ามเนื้อลีบ
1.ประเมินความสามารถในการทำกิจกรรมต่างๆ
2.สอนญาติให้ช่วยเหลือผู้ป่วยได้ถูกวิธี เพื่อให้ดูแลผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ออกกำลัง passive execise ทุก 4 hr
ดูแลfoley catheter
1.ดูแลความสะอาด perineum
2.สังเกตสีปัสสาวะ ปริมาณ
3.บันทึกปริมาณน้ำเข้าออก
4.วัด vital signs ทุก 4 hr
5.ดุแลให้ foley catheter ให้อยู่ในระบบปิด สายไม่ให้พับงอ
6.ดูแลให้ urine bag อยู่ต่ำกว่ากระเพาะปัสสาวะ และสุงกว่าพื้นเสมอ
การประเมินผล 1/10/62
ไม่มีแผลกดทับ ไม่มีภาวะกล้ามเนื้อลีบ และ
ข้อติด ไม่มีการติดเชื้อที่ทางเดินปัสสาวะ
ผล culture พบ acinetobacter bamannii (MDR)
WBC 10.89
1 มีภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากมีการติดเชื้อในปอด(Pneumonia)
ข้อมูลสนับสนุน
6.มีเสมหะเหนียวข้นสีเหลื่องนวล จำนวนมาก
1.WBC 10.89
2.Neutrophil 74.6 %
3.ฟังเสียงปอดได้ยินเสียง crepitation
4.ผล x-ray ปอดพบ Infiltration of right
5.ผล culture พบ acinetobacter bamannii (MDR)
7.ผู้ป่วยไม่สามารถหายใจไดด้วยตนเองต้องใช้เครื่อง ช่วยหายใจ Pressure Support Ventilation
วัตถุประสงค์
1.ร่างกายได้รับออกซิเจนเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
2.ลดการติดเชื้อและป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
เกณฑ์การประเมินผล
1.ลักษณะหายใจปกติ ไม่มีอาการหอบเหนื่อย อัตราการหายใจ 12-24 ครั้ง/นาที
2.ค่า oxygen saturation > 95%
3.ไม่มีภาวะ cyanosis (ปลายมือปลายเท้าและริมฝีปากไม่เขียวม่วง)
4.เสมหะปริมาณน้อยลงไม่มีสีเขียวเหลือง
5.WBC ปกติ 4.24-10.18 10^3 /uL
7.อุณหภูมิร่างกายปกติ 36.5-37.4 องศาเซลเซียส
ผลตรวจ sputom ไม่พบเชื้อ
6.neutrophil ปกติ 48.1-71.2 %
ผล X-ray ไม่พบ infiltration บริเวณที่มีการอักเสบ
ฟังเสียงปอดไม่ได้ยินเสียง crepitation
กืจกรรมทางการพยาบาล
ตรวจวัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง ประเมินระดับความรู้สึกตัว ภาวะพร่องออกซิเจน ฟังปอด วัด O2 sat เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
3.ฟังเสียงปอดทุก 8 ชั่วโมง
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง โดยการให้ผู้ป่วยนอนท่า fowler position เพื่อให้ปอดได้ขยายได้เต็ม
6.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาขยายหลอดลม Berodualขนาด 1 nb q 4 hr สลับกับ 0.9% NSS 4 ml q 4 hr พ่นทางจมูกเพื่อให้เสมหะอ่อนตัวล'
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับcolistin 150 mg iv drip od ยาปฏิชีวนะรักษาการติดเชื้อแบคทีเรียติดตามผลข้างเคียง คือ คัน ท้องไส้ปั่นป่วน และท้องเสีย
sulcef 3gm iv drip in 3 hr. q 12 hr รักษาการติดเชือทางเดินหายใจ ติตามผลข้างเคียง มีผื่นแดง ลมพิษ คลื่นไส้อาเจียน
Sulam 3 gm iv drip in3 hr q 12 hr ยาปฏิชีวนะที่ขจัดเชื้อที่เป็นสาเหตุโรคปอดอักเสบติดตามผลข้างเคียง คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย
9.ติดตามผล CBC และ ผลตรวจ culture ผล x-ray
10.จัดสิ่งแวดล้อม เพื่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก8. ดูแลให้ได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ ลดการทำกิจกรรม เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน cyanosis ระดับความรู้สึกตัว ลักษณะการหายใจ อาหารหอบเหนื่อย การตรวจสีผิว ปลายมือปลายเท้า
. suction clear airway ลดการอุดตันของเสมหะ ที่ท่อทางเดินหายใจ เพิ่มประสิทธิภาพในหารหายใจ
ดุแล personal hygiene ดูแลช่องปากและฟันให้สะอาดเพื่อลดการติดเชื้อ
การประเมินผล 2/10/62
1.ผู้ป่วย ไม่มีอาการหอบเหนื่อย อัตราการหายใจ 20 ครั้ง/นาที
2.ค่า oxygen saturation 100 %
ไม่มีภาวะ cyanosis และเสมหะมีสีเหลืองนวลปริมาณลดลง
4.WBC 10.89Neutrophil 74.6 %
อุณหภูมิร่างกาย 37.2 องศาเซลเซียส
ผล culture พบ acinetobacter bamannii (MDR)
7.ผล x-ray ปอดพบ Infiltration of right
ฟังเสียงปอดได้ยินcrepitation
creatinine 1.27 mg/dL
capillary refill 4 s
บวมกดบ๋ม +3
I/O 19001200