Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Fracture.Case 2 (การพยาบาล (ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะติดเชื้อ…
Fracture.Case 2
การพยาบาล
- ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะติดเชื้อ ประเมินอาการปวด เช่น มีอาการปวด บวมแดง
- ตรวจวัดสัญญาณชีพ ทุก 15 นาที จำนวน 4 ครั้ง จากนั้นวัดทุก 30 นาที 2 ครั้ง จากนั้นวัดทุก 1 ชม.จนกว่าจะคงที่
- จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในจุดที่เฝ้าระวัง และสังเกตอาการได้ตลอด
- ประสานงานให้ญาติดูแลใกล้ชิดถ้ามีอาการผิดปกติให้แจ้งพยาบาล
- record Intake / Output ให้กับผู้ป่วยตลอดในช่วง
24 ชม.แรก
- ให้การพยาบาลตามหลังลดปวด เช่น เปลี่ยนท่านอนให้สุขสบาย นอนหัวสูงและให้ยาตามการักษาของแพทย์
- ตรวจดูอุปกรณ์พยุง เช่น เฝือก slab ต้องไม่รัดแน่นจนเกินไป ประเมิน neurovascular status และ blood circulation
พยาธิสภาพ
- เมื่อกระดูก หักจะมีเลือดออกจากตัวกระดูก
และเนื้อ เยื่อ รอบๆกระดูก
- เมื่อเลือดหยุดไหลจะเกิดเป็นก้อนเลือดตรงบรเิวณที่หัก ทำให้เสียความมั่นคง ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ตามปกติ
- มีอาการปวดและชาเนื่องจากสูญเสียการทำงานชั่วคราวของเส้นประสาท
- หากกระดูกูหักบรเิวณใกล้ข้อต่อจะทำให้มีการฉีกขาดของเอ็นกระดูกและเอ็นของกล้ามเนื้อหุ้มข้อศอก ทำให้มีเลือดออกและเกิดการอักเสบ การอักเสบเป็นระยะเวลานานจะทำให้เกิด Fibrosis
- กระดูกที่หักจะมีการซ่อมแซมตามธรรมชาติ โดยมีการสร้างกระดูกใหม่ที่เรียกว่า แคลลัส Callas เกิดขึ้น และจะขยายกระดูกให้ติดกัน แต่อาจมีปัญหากระดูกไม่ติดกันเนื่องจากมีช่องกั้นระหว่างกระดูก
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
- เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่องจากมีแผลผ่าตัด
- ปวดเนื่องจากเนื้อเยื่อเกิดการฉีกขาด
- เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดเนื่องจากได้รับยาระงับคว่มรู้สึก
การรักษา :
การรักษาด้วยยา
- vitamin D – 1000 units per day
-
- vitamin C – 500 mg per day
-
-
การรัษาด้วยการผ่าตัด
- ไดรับการผ่าตัดกระดูก Radius
บรเิวณส่วนปลายที่หัก
-
อาการและอาการแสดง
- มีอาการบวมตรงบริเวณที่หัก
-
การวินิจฉัย
- การถ่ายภาพรังสี (อังกฤษ: radiography) เป็นเทคนิกการถ่ายภาพชนิดหนึ่งซึ่งใช้รังสีเอกซ์เพื่อตรวจดูลักษณะโครงสร้างภายในของวัตถุ
-
-
-
-