Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case2 distal radius fracture (ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (ถูกจำกัดการเคลื่อนไ…
Case2 distal radius fracture
อาการและอาการแสดง
มีอาการบวมบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บที่แขน
การรักษา
ได้รับการผ่าตัดสำหรับกระดกู radius
ส่วนปลายที่หัก
ผู้ป่วยได้รับการฝาตัดที่บริเวณกระดูกที่หักโดยการได้รับยาระงับความรู้สึกและใส่ แผ่น Plateไว้เพื่อล็อคและดามกระดูกเอาไว้ด้านใน
พยาธิสภาพ
เมื่อกระดูกหักจะมีเลือดออกจากตัวกระดูกและเนื้อเยื่อรอบๆกระดูกไม่สมารถเคลื่อนไหวได้ตามปกติ มีอาการปวดและชาเนื่องจากการสูญเสียการทำงานของเส้นประสาท หากมีกระดูกหักในข้อจะทำให้มีการฉีกขาดของเอ็นกระดูกและกล้ามเนื้อส่งผลให้บริเวณที่ไดัรับการบาดเจ็บมีอาการอัเสบและปวด การอักเสบเป็นระยะเวลานานจะทำให้เกิด (Fibrosis)กระดูกที่หักจะมีการซ่อมแชมตามรรมชาติโดยมีการสร้างกระดูกใหม่ที่เรียกว่า แคลลัส (Callus)เกิดขึ้นซึ่งจะขยายตรงกระดูกที่หักให้ติดกันแต่อาจมีปัญหากระดูกไม่ติดกันเนื่องจากอาจมีช่องกันระหว่างกระดูก
การวินิฉัย
radiographyการถ่ายภาพรังสี เป็นการถ่ายภาพชนิดหนึ่งซึ่งใช้รังสีเอกซ์เพื่อตรวจดูลักษณะโครงสร้างภายในกระดูกและนำมาประยุกต์ใช้ในการถ่ายภาพรังสีที่สำคัญ
จากเคสกรณีศึกษาพบว่าเป็น distal radius fracture
ยาที่ได้รับ
acetaminophen
พาราเซตามอล หรือ อะเซตามีโนเฟน เป็นยาบรรเทาอาการปวดเล็กน้อยจนถึงปวดปานกลาง
vitamin D - 1000 units per day
เซกโคสเตอรอยด์ ที่ละลายในไขมันกลุ่มหนึ่งซึ่งทำหน้าที่เสริมการดูดซึมแคลเซียม เหล็ก แม็กนีเซียม ฟอสเฟตและสังกะสี
vitamin C - 500 mg per day
วิตามินซี หรือ กรดแอสคอร์บิก หรือ l-ascorbic acid หรือ แอสคอร์เบต เป็นสารอาหารจำเป็นที่ใช้ซ่อมแซมเนื้อเยื่อและผลิตสารสื่อประสาท
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ถูกจำกัดการเคลื่อนไหวและไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ
เสี่ยงต่อการติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัดที่ใส่โลหะยึดตรึงภายใน
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดบวมบริเวรที่ได้รับบาดเจ็บ
ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลในการดูแลตนเองและแผลผ่าตัดหลังกลับไปอยู่บ้าน
การพยาบาล
ก่อนการผ่าตัด
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงภาวะโรคที่เป็นอยู่และการรักษา การผ่าตัดที่จะได้รับ
เปิดโอกาสให้ชักถามปัญหาและการผ่าตัด
ให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสพูดคุยกับผู้ป่วยที่เคยได้รับการผ่าตัดและประสบความสำเร็จในการผ่าตัดมาแล้วเพื่อลดความวิตกกังวล
อธิบายเรื่องสิทธิค่าใช้จ่ายในการผ่าตัด
การเตรียมร่างกายให้พร้อมก่อนการผ่าตัดเช่น ห้ามกินยาต้านการแข็งตัวของเลือดเป็นต้น
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนให้เพียงพอก่อนการผ่าตัด
แนะนำการปฏิบัติตนหลังการผ่าตัด การออกกำลังกายขณะนอนพักอยู่บนเตียง สอนการหายใจ/การไอ อย่างมีประสิทธิภาพ(Deep breathing and effective cough) การออกกำลังกายกล้ามเนื้อต้นขา(quadriceps isometric exercise) การฝึกการเพิ่มพิสัยของข้อ(range of motion) และการมี early ambulation เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด
หลังการผ่าตัด
การจัดท่านอนให้มีความสุขสบาย
การยกอวัยวะส่วนที่ผ่าตัดให้สูงเพื่อลดอาการปวด บวม เช่น ยกแขนสูง ยกปลายเตียงสูง
ตรวจประเมินสัญญาณชีพเพื่อประเมินภาวะแทรกช้อนหลังผ่าตัด เช่นการเสียเลือดมากหลังการผ่าตัด พร้อมทั้งลงบันทึกเพื่อสงต่อในเวรถัดไป
ตรวจดูการซึมของเลือดจากแผลผ่าตัดทำแผลและพันไว้ด้วย elastic bandage เพื่อช่วยให้เลือดหยุดไหลได้เร็วขึ้นและลดการดั่งบวมบริเวณแผลผ่าตัด และต้องพันไม่แน่นเกิดไปจนทำให้เลือดไหลเวียนได้ไม่ดี
ประเมินอุปกรณ์ที่ใส่พยุงอวัยวะส่วนที่ได้รับผ่าตัดว่าไม่มีรอยกดทับหรือบีบรัดจนแน่นเกินไป
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและยาฆ่าเชื้อตามแผนการรักษาเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะติดเชื้อ
กระตุ้นการออกกกำลังกายกล้ามเนื้อมัดต่างๆ เพื่อเพิ่มพิสัยของข้อ
ตรวจระดับการรับรู้ข้องเส้นประสาทของอวัยวะส่วนที่ต่ำกว่าการผ่าตัดเพื่อประเมินการถูกทำลาย/การได้รับการกระทบกระเทือนของเส้นประสาทระหว่างการผ่าตัด