Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:red_flag: Case 2 (การวางแผนการพยาบาล (ป้องกันอาการคันจากการใส่เฝือก…
:red_flag: Case 2
การวางแผนการพยาบาล
ป้องกันอาการคันจากการใส่เฝือก โดยอาจแนะนำให้ผู้ป่วยใช้แอลกอฮอล์หยอดลงไปในเฝือกได้หากมีการอาการคันเกิดขึ้น ห้ามเฝือกถูกความร้อน ห้ามเฝือกถูกทับ หรือใช้น้ำร้อนหรือน้ำเย็นประคบ
-
-
-
-
-
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวดตามแผนการรักษาของแพทย์ และความต้องการของผู้ป่วยพร้อมทั้งสังเกตอาการข้างเคียงของยา
อาการและอาการแสดง
-
-
ความเจ็บปวดของอวัยวะที่มีกระดูกหัก โดยเฉพาะถ้ากดแล้วจะเจ็บ (tenderness) เกิดจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อที่อยู่รอบบริเวณกระดูกหักอย่างแรง
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
-
-
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ compartment syndrome จากการไหลเวียนของเลือดถูกทำลายเนื่องจากมีการบีบรัดของเฝือกโดยรอบ
การรักษา
ได้รับการผ่าตัด
Internal Fixation
เป็นการยึดกระดูกโดยการผ่าตัดใส่เครื่องยึดที่เป็นโลหะ ภายหลังการจัดกระดูกเข้าที่แล้ว ซึ่งการผ่าตัดนี้จะรียก ว่า ORIF
ORIF ย่อมาจาก OpenReductionInternal Fixationโดยการผ่าตัดเปิดเข้าไปจัดกระดูกเข้าที่ แล้วจึงใส่ platesandscrews หรือใส่ intramedullary(IM)rod หรือ nail หรือ pin หรือ wire เพื่อยึดให้กระดูกอยู่กับที่
-
พยาธิสภาพ
ภาวะนี้มักเกิดขึ้นกับผู้ป่วยสูงอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้หญิง ซึ่งพบว่าภาวะกระดูกหักบริเวณนี้จะพบได้บ่อยที่สุดในบรรดากระดูกหักในกลุ่มผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป มักพบความผิดปกติของกระดูกบาง (osteoporosis) อยู่ก่อนแล้ว ดังนั้นกลุ่มอายุที่พบกระดูกหักชนิดนี้จึงอยู่ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีอายุใกล้เคียงกับกระดูกสะโพกหัก กลไกการเกิดมักจะเป็นการลื่นแล้วล้มลงเอามือท้าวพื้นทำให้กระดูกหักในท่าที่มืออยู่ในลักษณะของ dorsiflexion, pronation
-
-
-
-
-
-
-