Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
case 2 distal radius fracture (การพยาบาล (สังเกตลักษณะของแผลว่า บวม แดง…
case 2 distal radius fracture
การพยาบาล
สังเกตลักษณะของแผลว่า บวม แดง ร้อน ซึม มีกลิ่นเหม็นหรือไม่ ซึ่งอาจเป็นอาการแสดงของ การติดเชื้อของแผล
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอจัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาด
ประเมินระดับความเจ็บปวดด้วย pain scale
ดูแลให้ผู้ป่วยมีการออกกำลังกายตาม ท่าต่างๆ ที่ได้รับการสอนจากแผนกกายภาพบำบัด เป็นประจำทกุวันอยา่งนอ้ยทกุ 3 - 4 ชั่วโมง เพื่อป้องกันข้อยึดติด
ดูเเลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาของเเพทย์
แนะนำให้ผู้ป่วยพูดคุยกับผู้ป่วยรายอื่น ที่ได้รับการตัดผ่าตัดไปแล้ว ให้การฟื้นฟูสรรถภาพ
ความหมาย
กระดูกหักชนิดนี้พบได้บ่อยโดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีภาวะกระดูกพรุนร่วมด้วย
การหักที่สาวนปลายล่างของกระดูก Radius
ภาวะกระดูกหักที่เกิดในส่วนของ metaphysis ของปลายกระดูก radius ซ่ึงจะอยู่ในช่วง ประมาณ 2 cm เหนือต่อ radio-carpal joint
การรักษาด้วยการผ่าตัด
ให้ยาระงับความรู้สึกเเละใส่ แผ่น Plate ไว้เพื่อล็อดเเละดามกระดุกเอาไว้ด้านใน
การผ่าตัดสำหรับกระดูก Radius
การวินิจฉัย
Radiography การถ่ายภาพรังสี
การซักประวัติและตรวจร่างการ
พยาธิสภาพ
กระดูกที่หักบริเวณแขนขาจะมีความยาวสั้นลงและผิดรูปออกไป เนื่องจากแรงดึงของกล้ามเนื้อตามแกนยาวของกระดูกทำให้กระดูกเกยกัน
กระดูกที่หักจะมีการซ่อมแซมตามธรรมชาติโดยมีการสร้างกระดูกใหม่ที่เรียกว่า Callus เกิดขึ้นซึ่งจะช่วยตรึงกระดูกที่หักให้ติดกันแต่อาจมีปัญหากระดูกไม่ติดกัน เนื่องจากมีเยื่อพังผืดคั่นระหว่างปลายกระดูกที่หัก
จะมีการขยายตัวของหลอดเลือดทำให้บริเวณที่กระดูกหักเกิดอาการบวม
กระดูกหักบริเวณใกล้ข้อจะทำให้มีการฉีกขาดของเอ็นกระดูกและเอ็นกล้ามเนื้อเยื่อหุ้มข้อร่วมด้วย ทำให้มีเลือดออกเพิ่มขึ้นจากการที่เนื้อเยื่อบริเวณกระดูกที่หักเกิดการอักเสบ
อาการเเละอาการเเสดง
บวม หรือ มีรอยฟอกซ้ำ
ปวด
ยาที่ได้รับ
ยาเเก้ปวด
vitamin D- 1000 units per day
vitamin C- 500 mg per day
ข้อวินิจฉัยพยาบาล
ไม่สุขสบายเนื่องจากเจ็บปวดข้อมือที่ได้รับบาดเจ็บ
เสี่ยงต่อการหดรั้งของกล้ามมเนื้อหรือข้อติดเนื่องจากไม่เข้าใจความสำคัญของฟื้นฟูสรรถภาพ
เสี่ยงต่อการติดเชื้อบริเวณแผลหลังผ่าตัด