Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยชาย อายุ 28 ปี Tibial shaft fracture and ankle injury …
ผู้ป่วยชาย อายุ 28 ปี Tibial shaft fracture and ankle injury
กระดูกหน้าแข้งแตกหักและบาดเจ็บที่ข้อเท้า
พยาธิสภาพ
อาการและอาการแสดง
มีรอยแตกที่ขาขวา
การวินิจฉัย
X-ray
CT scan
การรักษา
ข้อวินิจฉัยและการวางแนวการพยาบาล
ผู้ป่วยวิตกกังวลเนื่องจากไม่ทราบวิธีการปฏิบัติตัวก่อนและหลังการผ่าตัด
ประเมินภาวะความวิตกกังวลของผู้ป่วยจากสีหน้าท่าทางและคำบอกเล่า
สร้างสัมพันธภาพโดยการเข้าไปพูดคุยซักถามและเปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้ป่วยวิตกกังวลพร้อมเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยซักถามปัญหาจนเข้าใจ
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับกฎระเบียบ ข้อปฏิบัติของโรงพยาบาล ขณะอยู่โรงพยาบาลเพื่อให้
ผู้ป่วยและญาติเข้าใจและคลายความกงัวล
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตนก่อนและหลังผ่าตัดแก่ผู้ป่วยและญาติโดยการแนะนำ การเตรียมความสะอาดร่างกายทั่วไป สอนและให้ฝึก Deep Breathing exercise และการท า Circumduction สอนและให้ฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยพยุงเดิน 4ขา (Pickup walker ให้ดู VCD การปฏิบัติตน และเปิดโอกาสให้ผู้ ป่วยและญาติได้ซักถามข้อสงสัย
เสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
ให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกบัการดูแลเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้มตามปัจจัย
เสี่ยง
สอนทักษะให้ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมในการดูแล เช่น การช่วยพยุง การยกเหล็กกั้น
เตียงขึ้นปรับระดับเตียงให้ต่ำสุด และการกดเรียกพยาบาล
ตรวจเยี่ยมผู้ป่วยทุก1 ชั่วโมงโดยใช้4 P Round ได้แก่ pain, pantry, potty, position
ผู้ป่วยไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลผ่าตัด
สอนและแนะนำวิธีการประเมินความปวด (pain assessment)
การจัดการกับความปวด
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะหลอดเลือดดำส่วนลึกอุดตัน (deep vein thrombosis)
ดูแลจัดท่านอนของผู้ป่วยให้ขากางออกไม่ให้ข้อเข่าและข้อ สะโพกอยู่ในท่าเหยียดเกินไปควรมีผ้ารองบริเวณขา เพราะหลอดเลือดดำบริเวณนั้นถูกยืดออกและแฟบลงแรงกดที่เกิดขึ้น ทำให้มีการหยุดนิ่งของกระแสเลือด
สังเกตอาการบวมตึง อุณหภูมิสีผิว ชีพจรบริเวณปลายเท้าท้ั้ง2 ขา้ง (dorsalis pedis
pulse) และสอบถามอาการปวดบริเวณขาและน่องความรู้สึกและความสามารถในการเคลื่อนไหวขา
แนะนำการบริหารร่างกายและเคลื่อนไหวร่างกายอย่างรวดเร็ว (early ambulation) ตาม
แผนการรักษาเพราะจะช่วยลดปัจจัยในการเกิดภาวะหลอดเลือดดำอุดตัน
แนะนำให้ผู้ป่วยทราบว่า หากมีอาการกดเจ็บบริเวณน่องหรือขาหนีบ เป็นตะคริว มี
อาการชา หรือขาบวม ให้รายงานพยาบาลและแพทย์ทราบทันที
ดูแลให้ได้รับยาละลายลิ่มเลือดตามแผนการรักษา
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อเส้นประสาทและหลอดเลือดส่วนปลายทำหน้าที่ไม่ไดต้ามปกติ
จัดวางขาข้างที่ทำผ่าตัดให้ตรงไม่บิดออกนอก(external rotation) เพื่อป้องกันการกดทับ
common peroneal nerve
ประเมินการทำงานของเส้นประสาทและหลอดเลือดส่วนปลายของขาข้างที่ทำผ่าตัด: 7p
สอนและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการบริหารร่างกายเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนของเส้นประสาทและหลอดเลือดส่วนปลาย ได้แก่ การบริหารกล้ามเนื้อแบบเกร็งอยู่กับที่ (isometric exercise)การบริหารกล้ามเนื้อข้อเท้าโดยการกระดุกข้อเท้าขึ้นลง (ankle pumping exercise)
รายงานอาการให้แพทย์ทราบเมื่อพบอาการผิดปกติเพื่อให้การดูแลได้อย่างทันท่วงที
การให้ข้อมูลผู้ป่วยและญาติเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของเส้นประสาท และ
หลอดเลือดส่วนปลาย
การให้ข้อมูลและการสนับสนุนทางด้านอารมณ์แก่ครอบครัว ให้ข้อมูลญาติก่อนผ่าตดัเรื่องภาวะแทรกซ้อนของเส้นประสาทและหลอดเลือดส่วนปลาย เมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนบอก เหตุผลการช่วยเหลือการรักษาแก่ญาต