Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 (เรื่องที่ 4.1) การพัฒนาองค์กรและเครื่องมือในการพัฒนาองค์กร…
บทที่ 3 (เรื่องที่ 4.1) การพัฒนาองค์กรและเครื่องมือในการพัฒนาองค์กร
ความหมายขององค์กร
องค์การ คือ การรวมกันของคน 2 คนขึ้นไป มาทำงานร่วมกันตามเป้าหมาย
วัฒนธรรมองค์การ คือ ค่านิยม + ความเชื่อ
การพัฒนาองค์กร (Organization Development/OD): พยายามแบบมีแผน + ต่อเนื่อง ให้เปลี่ยนแปลงทั้งระบบ โดยเฉพาะวัฒนธรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล
หลักการพัฒนาองค์กร
2.3 การปรับปรุงสัมพันธ์ภาพ (Improving relations)
2.4 ให้ทุกคนเข้ามามีส่วนร่วม โดยระบบการทำงานขึ้นอยู่กับดุลยภาพของงาน (Balance of force)
2.2 มีความเข้าใจในสถานการณ์ (Understand relations)
2.5 การเชื่อมโยง (Linking) แนวยุทธศาสตร์ของ OD/ความสามารถในการโน้มน้าวให้คนเข้าใจกันดี
2.1 กำหนดเป้าหมาย (Goal setting)
วัตถุประสงค์การพัฒนาองค์กร
3.5 เน้นหลักการ>บุคคล
3.6 เน้นปริมาณ + ความรู้สึก
3.4 ปรับปรุงสิ่งที่ล่าสมัย/ขัดขวางความก้าวหน้า
3.7 กระจายการตัดสินใจ
3.3 มีกระบวนการทำงานเป็นแบบแผน + ส่วนร่วม
3.8 ให้ตระหนักถึงหน้าที่ความรับผิดชอบ
3.2 ปรับตัวรวดเร็ว + อยู่รอด
3.9 เป้าหมายขององค์กรและคนมีทิศทางเดียวกัน
3.1 เพิ่่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล
*
เป้าหมายหลัก
พัฒนาคน + งาน
เข้าใจดี
สัมพันธภาพดี
ขั้นตอนการพัฒนาองค์กร
4.2 การตรวจวินิจฉัยปัญหา (Diagnosis): นำข้อมูลมาวิเคราะห์ -> กำหนดเป้าหมายเมื่อทราบสาเหตุ -> วิเคราะห์แรงดัน - แรงดึง
4.3 การกำหนดยุทธวิธี (Factors or Intervention): เลือกวิธีการมาใช้พัฒนาองค์กร
4.1 การรวบรวมข้อมูล (Data gathering): รวบรวมสภาพปัญหาในองค์กร
4.4 การประเมินผล (Evaluation): สอดคล้องกับเป้าหมาย เกณฑ์ และมาตรฐานหรือไม่ เพื่อนำมาปรับปรุง/พัฒนาต่อ
เครื่องมือในการพัฒนาองค์กร (OD tools)
5.3 การจัดการคุณภาพโดยรวม (Total quality management: TQM)
ต้องทำงานร่วมกันระหว่างหัวหน้า + ลูกน้อง (คล้าย MBO) แต่ต้องมีความต่อเนื่อง
ประสิทธิผล 6 ประการ: การปรัปรุงอย่างต่อเนื่อง + การมอบหมายงาน + การกำหนดมาตรฐานเทียบเคียง + การจัดส่งสินค้าทัน + Taguchi technique การปรับปรุง + ความรู้ในการใช้เครื่องมือ
5 ส ของรพ.: สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สร้างนิสัย
5.2 ระบบควบคุมคุณภาพ/กลุ่มคุณภาพ (Quality control circle: QCC/QC)
การทำงานร่วมกัน + ประหยัด + การพัฒนาภายในหน่วยงาน/องค์กรที่สามารถทำให้ดีขึ้น
เทคนิค: ผังก้างปลา (Cause and Effect) การระดมปัญญา (Brain stormimg)
5.1 การบริหารที่ยึดวัตถุประสงค์เป็นตัวกำหนด (MBO: Management by Objective)
หัวหน้า + ลูกน้อง ตั้งจุดมุ่มหมาย/วัตถุประสงค์เดียวกัน หรือกำหนดแนงทางร่วมกัน
ขั้นตอน: กำหนดวัตถุประสงค์ -> ปรับโครงสร้างขององค์กร (๋JD)-> กำหนดจุดตรวจสอบ -> การประเมินการปฏิบัติงาน 1 - 2 ครั้ง/ปี
5.4 การบริหารแบบซิกม่า (Six sigma)
มุ่งความเป็นเลิศ + ปรับปรุงองค์กรต่อเนื่องเป็นระบบร่วมกัน
มีทีมปรึกษา การให้ทรัพยากรที่จำเป็นต่อการปรับปรุง และการสนับสนุนแนวความคิดใหม่ๆ ให้พนักงานสามารถคิดด้วยตนเอง
4 ขั้นตอน: การวัด (CTQ) + วิเคราะห์ปัญหา + แก้ไขกระบวนการ + การควบคุม (ตัวแปรต่างๆ)
5.5 ระบบการบริหารแบบลีน (Lean management system)
ปรับปรุงกระบวนและคุณภาพการ วัตถุประสงค์กำจัดปัญหา ลดต้นทุน เพิ่มความพึงพอใจ ปลอดภัย ใช้ทรัพยากรจำกัดและเกิดประโยชน์
5.6 องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning organization: LO)
องค์กรมีทักษะและความสามารถ (Play and learn)
องค์กรมีความรู้ อยู่รอดได้ในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง และได้เปรียบในการแข่งขัน
วินัย 5 ประการ: เป็นเซียนบุคคล (Personal Mastery) + การยึดติดในใจ โลกทัศน์ ความคิดเข้าใจ (Mental Model) + ฝันเดียวกัน/เป้าหมายเดียวกัน (Share vision) + การเรียนรู้เป็นทีม (Team learning) + การคิดเป็นระบบ (System thinking)
5.7 การบริหารจัดการความรู้ (Knowledge management: KM)
ให้คนที่ต้องการความรู้ได้รับความรู้ที่ต้องการ ให้บรรลุเป้าหมาย
ดึงบุคลากรที่มีคุณภาพให้อยู่นานๆ บันทึกความรู้ และวิธีการแก้ปัญหาของคนนั้น เพื่อให้คนอื่นนำไปใช้ได้
ประเภทของความรู้ 2 ประเภท: Tacit Knowledge/ความรู้ความชำนาญ ฝังลึกในตัวคน ยากที่จะถ่ายทอด + Explicit Knowledge/ความรู้ที่สามารถถ่ายทอดเป็นทฤษฎีต่างๆ ได้
5.8 การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change management)
การจัดการกับเหตุการณ์ที่ต่างไปจากเดิมให้ดีขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
3 ขั้นตอน: การวางแผนการเปลี่ยนแปลง + การนำแผนไปปฏิบัติ + การติดตามประเมินผล
5.9 การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public management quality award: PMQA)
การบริหารภาครัฐให้เป็นไปตามหลักสากล
จุดเน้น 6 ประการ: มีวิสัยทัศน์ + รับผิดชอบ + ปรับปรุงยืดหย่นคล่องตัว + พัฒนางานและคน + ตัดสินใจอย่างมีข้อมูล + มุ่งผลลัพธ์
5.10 การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result based management: RBM)
มุ่งผลงานเป็นหลัก/เป็นไปตามตัวชี้วัด/ทำงานตามตัวชี้วัดที่มี
5.11 วิธีปฏิบัติเป็นเลิศ (Best practice)
มีแนวปฏิบัติเป็นเลิศอย่างชัดเจน ได้รับการยอมรับ แสดงผลลัพธ์ที่ประเมินได้ (ผลงาน + วัฒนธรรม + ทีมงาน)
แนวทางของผู้นำ: กระตุ้นเปิดรับความคิด + ดำเนินการและเสนอความคิด + ประเมินให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อปรับปรุง + นำความคิดไปปฏิบัติ + ทบทวนเพื่อขยายผล + ยกย่องชมเชย + วัดผล ทบทวน ปรับปรุง
5.12 Benchmarking
กระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และวิธีปฏิบัติเป็นเลิศ