Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ศาสตร์แห่งการจัดการเรียนรู้และนำความรู้ไปใช้จริง (บทบาทของครูที่ดี…
ศาสตร์แห่งการจัดการเรียนรู้และนำความรู้ไปใช้จริง
1.การเรียนรู้และการประเมินผ่านกิจกรรม (KM) 6 ระดับ
ความรู้ความจำ ความสามารถในการระลึกได้
ความเข้าใจ ถามให้เปรียบเทียบ ถามให้บรรยากาศ และ ถามให้สรุปความ
การนำไปใช้ ถามให้คาดคะเนผลที่จะเกิด ถามให้หาความสัมพันธ์ถามให้ยกตัวอย่างจากเรื่องที่เรียนไปแล้วและถามให้ประยุกต์หลักการและทฤษฎีในสถานการณ์ใหม่
การวิเคราะห์ ถามให้บอกความสำคัญ ถามให้บอกเหตุผล และ ถามให้หาหลักการ
การสังเคราะห์ ถามเกี่ยวกับแผนงานหรือโครงการถามให้จัดรวบรวมข้อเท็จจริง ถามให้แสดงความคิดสร้างสรรค์
ประเมินค่า ถามให้ตัดสินใจ และ ถามให้อภิปรายหรือแสดงความคิดเห็นวิพากษ์วิจารณ์
หลักการของ KM
ระบุ ค้นหา (Identity) กำหนดความรู้และแหล่งความรู้
2.เก็บสะสม (Capture) รวบรวมความรู้
คัดสรร ประเมินคุณค่า (Select) ดูว่าจัดเองไหมจริงหรือเท็จ
เก็บ (Store) ในฐานข้อมูลความรู้ขององค์กร
การนำไปประยุกต์ใช้ (Apply) แก้ปัญหา วิจัย อบรม
สร้าง (Create) ความรู้ใหม่ทอดลองวิจัย
เอาไปขาย (Sell) เผยแพร่ก่อสร้างสินค้า บริการใหม่ๆ
การสรุปบทเรียน การถอดบทเรียน และการถอดรหัสสู่การพัฒนา
การสรุปบทเรียน (Lesson learned) รวมแล้วย่อรวบยอด
การถอดบทเรียน (Lesson distilled) สกัดให้ได้แก่นที่เป็นหัวใจแต่ละเรื่อง
การถอดรหัสการพัฒนา (Development decoded) ทำอะไรให้สำเร็จเพื่อนำไปใช้
การถอดรหัสสู่การขยายผล สรุปแก่นสาระของข้อมูลต้นแบบนำมาวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีดำเนินงาน
ตัวอย่างเช่น ส.นพ.ประเวศ วะสี ได้อธิบายการถอดรหัสการพัฒนาของในหลวง ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง"เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา" มีประเด็น 3 เรื่องคือ
ความดี (Goodness)
วัฒนธรรมชุมชน (Community)
ความรู้ (Knoeledge)
องค์ความรู้สำหรับผู้เรียนรู้/ผู้ทำงาน/คณาจารย์/หัวหน้างานยุคใหม่
1.รู้จัก Learning Styles เช่น การเรียนรู้แบบโครงงาน
รู้จัก Learning How to Learn รู้ว่าจะเรียนรู้ได้อย่างไร
รู้จักใช้ตัวช่วย (ICT for Leaning) E-Learning
เมื่อเด็กหาความรู้และข้อมูลได้เองจากแหล่งออนไลน์ครูต้องปรับจากผู้สอนเป็นผู้ป้อน เป็นโค้ช
ทักษะการสร้างความสัมพันธ์เพื่อสร้างความไว้วางใจและความศรัทธา
ทักษะการฟังอย่างลึกซึ้ง ฟังแล้วตีความสถานการณ์ได้ตรงข้อเท้จจริง
ทักษะการถาม กระตุ้นกระบวนการคิด ตรึกตรอง และค้นหาคำตอบ
ทักษะการให้ข้อมูลย้อนกลับ ให้ข้อมูลให้มีการปรับปรุงแก้ไข้
ทักษณะอื่นๆ เช่น การเล่าเรื่อง การจูงใจ และ การสื่อสาร
รูปแบบการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
การเรียนรู้ของสมอง (Brain based-Learning)
จัดทำโครงการ (project based-learning)
ให้คัดสร้างสรรค์ (Construction ism)
เน้นการแก้ปัญหา (problem solving Learning)
เรียนทางไกลผ่านอินเทอร์เน็ต E-Learning (Distant learning through internet)
สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Cycle)
ทักษะชีวิต (Life Skills)
ขั้นตอนสร้างองค์กรเรียนรู้ที่มีคุณธรรม
เริ่มจากสร้างวัฒนธรรมองค์กร
มีจิตวิญญาณ
ผูกพันธ์ต่อคุณภาพ
มีสำนึกต่อลูกค้าและสังคม
บำรุงปรุงแต่งองค์กรแบบสิ่งมีชีวิต
เน้นการมีส่วนร่วม
ทำงานเป็นทีม
สนใจความต้องการพนักงาน
ผลักดันองค์กรให้เกิดวินัย
มีวินัยต่อตนเอง กระตือรือร้น
รับฟังผู้อื่น
สร้างฝันร่วมกัน
เรียนรู้ร่วมกัน
คิดเป็นระบบภาพรวม
ขับเคลื่อนองค์กรให้เรียนรู้ต่อเนื่อง
เรียนรู้โดยการปฏิบัติ
มีมาตรฐานเปรียบเทียบ
ยินดีให้ผู้อื่นฝึกสอน
ฝึกเป็นพี่เลี้ยงให้ผู้อื่น
มีแฟ้มงานเพื่อพัมนา
บทบาทของครูที่ดี
การทำให้พ่อแม่ได้มีส่วนร่วม
การอ่านแบบผสมคำ
การอ่านเอาเรื่อง
การทดลองทางวิทยาสาสตร์
การเล่านิทาน/นิยาย
การสอนเขียน
การสอนคณิตศาสตร์
การคาดคะเน
ความคาดหวังของครู
ความสามารถและความพยายามของนักเรียน
การจัดการเรื่องเวลาเรียนในชั้นเรียน
การสอนโดยตรงในชั้นเรียน
กิจกรรมเสริมหลักสูตร
กวดวิชา
การท่องจำ
การตั้งคำถาม
ทักษะการเรียน
การนับด้านปริมาณ
19.การนับด้านคุณภาพ
20.การวัดผล
บทบาทของผู้บริหารที่ดี
โรงเรียนที่มีประสิทธิภาพ
เด่นในการเป็นผู้นำด้านการสอน
มีบรรยากาศปลอดภัยเป็นระเบียบ
ปูทักษะพื้นฐานทุกวิชาให้แน่น
ครูมีความคาดหวังในตัวนักเรียนทั้งานสำเร็จสูง
วัดความก้าวหน้านักเรียนอย่างเป็นระยะ
ครูใหญ่ผู้ปกครองนักเรียนเห็นพ้องต้องกันในเรื่องเป้าหมาย
วิธีสอน เนื้อหาในการสอน นักเรียนภูมิใจในเวลาเรียน