Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีความรับผิดชอบ (แนวทางปฏิบัติเมื่อพบเนื้อหาที่…
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีความรับผิดชอบ
แนวทางปฏิบัติเมื่อพบเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม
ปฏิเสธการรับข้อมูล สามารถทำได้โดยไม่เปิดดู ไม่บันทึกเก็บไว้ เเละไม่กดไลค์ เพราะการกระทำเหล่านี้เป็นเเนวทางที่ป้องกันไม่ให้ข้อมูลดังกล่าวเผยเเพร่ไปสู่ผู้อื่น
ไม่ส่งต่อ ไม่เเชร์ ไม่เผยเเพร่ เพราะนอกจากจะทำให้ผู้อื่นเดือดร้อนกับข้อมูลที่ไม่เป็นความจริงเเล้ว ในบางกรณีอาจเข้าข่ายผิดกฎหมายตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีโทษทั้งจำเเละปรับ
เเจ้งผู้ปกครองหรือคุณครู หากนักเรียนประสบปัญหาไม่ไม่สามารถจัดการหรือเเก้ไขได้เองให้เเจ้งครูหรือผู้ปกครอง เพื่อดำเนินการเเก้ไขหรือติดต่อประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาซ้ำเดิมในที่สุด
เเจ้งผู้เกี่ยวข้องที่ดูเเลเว็บไซต์นั้น กรณีที่ใช้งานข้อมูลจากผู้บริการระบบรายใหญ่ เช่น facebook youtube ซึ่งเว็บไซต์เหล่านี้เปิดโอกาสให้ผู้ใช้สามารถรายงานปัญหาเกี่ยวกับเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมได้ เช่น เนื้อหาที่มีการคุกคามทางเพศ เนื้อหาที่เกี่ยวกับความรุนเเรง ส่งเสริมการก่อการร้ายการละเมืดสิทธิ์
เเจ้งเจ้าหน้าที่รัฐหรือตำรวจ หากผู้ดูเเลระบบไม่จัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้น ให้ประสานงานกับหน่วยรัฐที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง เช้น เเจ้งกระทรวงดิจิตอลเพื่อเศรษฐกิจเเละสังคม ที่เว็บไวต์
http://www.mdes.go.th
เพื่อดำเนินการตามกฎหมาย
มารยาทในการติต่อสื่อสาร
มารยาทในการใช้อีเมล
1.ใช้ภาษาสุภาพ ชัดเจน ตรงประเด็น เหมาะสมกับกาละเทศะหรื่อผู้ที่จะสื่อสารด้วย
2.ใช้อักษรตัวหนาเฉพาะข้อความที่ต้องการเน้นเท่านั้น
3.ระบุหัวเรื่อง ชื่อผู้ที่จะสื่อสารด้วย และระบุตัวตนของผู็ส่งอีเมลให้ชัดเจน
4.ระบุชื่อตำแหน่งของผู้สื่อสารให้ถูกต้อง
5.เนื้อหาในอีเมลไม่ควรมีข้อความแสดงถึงเจตนาไปทางเสื่อมเสีย
6.หลีกเลี่ยงการส่งอีเมลและการเเนบไฟล์ที่มีขนานใหญ่
7.ไม่ลักลอบส่งอีเมลโดยการปลอมแปลงชื่อผู้ส่ง
8.ไม่ส่งต่อลูกโซ่
9.ไม่ส่งอีเมลขายสินค้าหรือข้อความที่รบกวนผู้อื่น
มารยาทในการแชทและเครือข่ายสังคม
ไม่ใช้ข้อความที่เป็นชนวนก่อให้เกิดปัญหา
หลีกเลี่ยงการการใช้อารมณ์จนมากเกินไป
ไม่สวมรอยหรือแอบอ้างที่ทำให้ผู้อื่นเสียหาย
ผลกระทบการเผยเเพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม
การไม่คำนึงถึงความถูกต้องของข้อมูลก่อนเผยแพร่หรือส่งต่อ อาจจะส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่นการกระทำที่ไม่ได้ไตร่ตรองให้ถี่ถ้วนถึงความเหมาะสม
ผลกระทบต่อผู้เผยแพร่
ทางด้านจิตใจ รู้สึกผิดกับการกระทำของตนเองเลียนแบบการกระทำที่ไม่เหมาะสมของตนเอง
ทางด้านสังคม ถูกสังคมลงโทษได้รับการประณาม
ทางด้านกฎหมาย ได้รับโทษแเนื่องจากข้อมูลเหล่านั้นอาจผิดระเบียบ และเสียค่าใช้จ่ายจากการดำเนินคดีตามกฎหมาย
ผลกระทบที่ผู้อื่นไม่ได้รับจากการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม
ทางด้านการงานและธุระกิจ อาจจะถูกให้ออกจากงานเพราะบริษัทเกิดความเข้าใจผิด
ด้านจิตใจ เสียใจทำให้รู้สึกอับอาย ไม่ปลอยภัย สูญเสียการยอมรับจากผู้อื่น
ทางด้านสังคม ได้ผลกระทบด้านใช้ชีวิตประจำวัน ครอบครัวเดือดร้อน