Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีความผิดปกติระบบผิวหนัง (โรคผิวหนังจากเชื้อแบคท…
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีความผิดปกติระบบผิวหนัง
โรคผิวหนังจากเชื้อปรสิต
โรคหิด (Scabies)
การวินิจฉัย
การทดสอบด้วยหมึก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
สาเหตุ
เกิดจากตัวหิดหรือไรที่มีชื่อว่า Sarcoptes Scabiei
สามารถแพร่กระจายด้วยการสัมผัสตัว แต่ต้องเป็นระยะเวลานานประมาณ 15-20 นาที
การใช้เสื้อผ้า ผ้าเช็ดตัว หรือนอนร่วมเตียงกับผู้ป่วยโรคหิด มีโอกาสน้อยที่จะเกิดการติดต่อ
อาการ
การรักษา
ครีมเพอร์เมทริน (Permethrin)
ขี้ผึ้งซัลเฟอร์ (Sulfur)
โลชั่นเบนซิลเบนโซเอต (Benzyl Benzoate)
โลชั่นลินเดน (Lindane)
ครีมโครตาไมตอน (Crotamiton)
ภาวะแทรกซ้อน
เหาศรีษะ (Head louse)
การวินิจฉัย
วินิจฉัยด้วยตนเอง
ในเบื้องต้นผู้ป่วยสามารถวินิจฉัยด้วยตัวเองได้ว่าเป็นโรคเหาหรือไม่จากอาการคันบนหนังศีรษะ หากมีอาการคันและรู้สึบยุ่บยั่บที่หนังศีรษะ หรือมีสิ่งแปลกปลอมขนาดเล็กมาก ๆ สีขาวอยู่บนหนังศีรษะ นอกจากนี้ หากมีคนรอบข้างติดเหา อาจทำให้ติดเหาได้ด้วยเช่นกัน ดังนั้น หากมีอาการและปัจจัยเหล่านี้ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยโรคต่อไป
วินิจฉัยโดยแพทย์
โดยปกติแพทย์จะมองเห็นตัวเหา ไข่เหา และตัวอ่อนของเหาได้ด้วยการใช้แว่นขยายส่องดู แต่อาจมองเห็นตัวอ่อนและตัวโตเต็มวัยได้ยากเนื่องจากเคลื่อนไหวไปมา ในกรณีที่มองไม่เห็นตัวเหา หรือไข่ของเหาได้ชัด แพทย์อาจใช้ไฟวูดไลท์ส่องเพื่อมองหาได้ชัดเจนขึ้น และยังช่วยให้ระบุได้อย่างแน่ชัดว่าเป็นโรคเหาหรือไม่ หากไม่พบตัวเหา หรือไข่เหา หมายความว่าผู้ป่วยไม่ได้เป็นโรคเหา แต่อาจเป็นโรคผิวหนังชนิดอื่น ๆ
สาเหตุ
เกิดจากปรสิตชื่อเหา (Lice) ซึ่งเป็นสัตว์ขนาดเล็กที่อาศัยอยู่บนหนังศีรษะมนุษย์ คอยดูดเลือดและวางไข่ ตัวโตเต็มวัยมีขนาดเท่าเมล็ดงา การติดโรคเหาส่วนใหญ่มักมีสาเหตุมาจากการอยู่ใกล้ชิดคนที่ติดเหา โดยโรคเหาติดต่อกันได้โดยไม่เกี่ยวข้องกับสุขอนามัยแต่อย่างใด แต่ไม่สามารถติดจากสัตว์ได้
อาการ
ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดคืออาการคัน และอาจรู้สึกเหมือนมีตัวอะไรเคลื่อนไหวอยู่บนหนังศีรษะ โดยอาการของโรคเหาจะไม่สร้างความเจ็บปวดให้ผู้ป่วย ยกเว้นในกรณีที่เกาจนกลายเป็นแผลเปิด และติดเชื้อจนทำให้อักเสบ และส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน หากมีอาการรุนแรงก็อาจทำให้ผมร่วง และหนังศีรษะคล้ำลงเพราะการติดเชื้อได้
การรักษา
การสางผมด้วยหวีสางเหา (Wet-combing)
ก่อนสางผมควรชะโลมครีมนวดผมที่มีสีขาวลงบนผมที่แห้ง เพื่อให้ผมง่ายต่อการสาง ช่วยให้เห็นเหาได้ง่ายขึ้น อีกทั้งยังทำให้เหาเคลื่อนที่ได้ช้าลง จากนั้นแบ่งผมแล้วสางผมตั้งแต่หนังศีรษะจนถึงปลายผมใน 4 ทิศทาง คือ หวีไปด้านหน้า ด้านหลัง ด้านซ้ายและขวา จากนั้นนำหวีไปเช็ดกับผ้าสะอาดเพื่อตรวจสอบว่ามีเหาอยู่หรือไม่ วิธีนี้ควรทำซ้ำอย่างน้อยทุก ๆ 1 - 2 วัน ติดต่อกันประมาณ 10 วัน หรือจนกว่าจะไม่พบเหาบนหนังศีรษะ
การใช้น้ำมันหอมระเหย (Essential oil)
มีการศึกษาทางการแพทย์พบว่าน้ำมันหอมระเหยจากพืชบางชนิดอาจเป็นพิษกับเหาและไข่เหา ได้แก่ น้ำมันต้นทีทรี น้ำมันโปยกั๊ก น้ำมันกระดังงา แต่ควรหลีกเลี่ยงน้ำมันที่ก่อให้เกิดประกายไฟได้ เช่น เคโรซีน หรือน้ำมันเบนซิน เพราะอาจเป็นอันตรายต่อผู้ใช้ได้
การใช้ยา
เพอร์เมทริน (Permethrin)
เป็นยารักษาโรคเหาที่ใช้ได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ แต่ต้องระมัดระวังผลข้างเคียง เนื่องจากอาจทำให้เกิดอาการคันหนังศีรษะ หรือหนังศีรษะเป็นรอยแดงได้ ยกเว้นผู้ที่มีอาการแพ้ดอกเก็กฮวย หรือแพ้หญ้าแร็กวีด (Ragweed)
ไพรีทริน (Pyrethrins)
ยารักษาโรคเหาที่ผลิตจากไพรีทรินผสมกับสารเคมีต่าง ๆ ช่วยในการฆ่าเหา สามารถใช้ได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ยกเว้นผู้ที่มีอาการแพ้ดอกเก็กฮวย หรือแพ้หญ้าแร็กวีด (Ragweed
มาลาไทออน (Malathion)
เป็นยากำจัดเหาที่ได้รับการรับรองให้ใช้ได้ในเด็กอายุตั้งแต่ 6 ปี ขึ้นไป ซึ่งอยู่ในรูปของยาสระผม
คาบาริล (Carbaryl)
เป็นยาที่ใช้ในการกำจัดเหา โดยตัวยาจะเข้าไปทำลายระบบประสาทของเหาจนตายลงในที่สุด อีกทั้งยังทำลายไข่เหาได้ ซึ่งในปัจจุบันยาชนิดนี้มักผสมระดับความเข้มข้นต่ำอยู่ในรูปของยาสระผม
การทำความสะอาดบ้าน
ภาวะแทรกซ้อน
มีรอยแผลเปิดจากการเกา จนทำให้เกิดการติดเชื้อ และบางรายอาจเกิดแผลพุพองจากการติดเชื้อบนหนังศีรษะได้
เกิดผื่นคันอย่างรุนแรงที่บริเวณด้านหลังของคอและหลังใบหู เนื่องจากผิวหนังมีปฏิกิริยาไวต่อสารบางชนิดในอุจจาระของเหา
นอนหลับไม่สนิท เนื่องจากมีอาการคันตลอดเวลา
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
ผิวหนังชั้นใน หรือหนังแท้ ( Dermis )
ประกอบด้วย
Papillary
Reticular layer layer
หน้าที่
ชั้นใต้ผิวหนัง หรือชั้นไขมัน (Subcutenous tissue or hypodermis)
ประกอบด้วย
เซลล์ไขมัน
-โปรตีนคอลลาเจน
หลอดเลือดต่างๆที่มาหล่อเลี้ยงจำนวนมาก
หน้าที่
ชั้นนี้ทำหน้าที่สะสมไขมันช่วยให้ร่างกายอบอุ่น นอกจากนี้ยังประกอบด้วยเส้นประสาทส่วนปลาย และหลอดเลือดซึ่งำแเลี้ยงผิวหนัง
ผิวหนังชั้นนอก หรือหนังกำพร้า (Epidermis)
ประกอบด้วย
Basal layer หรือ Stratum basale: เป็นส่วนที่อยู่ชั้นในสุด
Prickle layer หรือ Stratum spinosum
Granular layer หรือ Stratum granulosum ชั้นนี้จะเป็นจุดเริ่มต้นของกระบวนการผลัดเซลล์ผิว
Clear layer หรือ Stratum lucidium เซลล์ในชั้นนี้จะอัดตัวกันอยู่อย่างหนาแน่น
Horny layer หรือ Stratum corneum
หน้าที่
ช่วยปกป้องผิวจากแบคทีเรีย
ช่วยในกระบวนการสร้างไลปิด แบริเออร์
ช่วยกระตุ้นเอ็นไซม์ในการหลุดลอกของขี้ไคล
ช่วยให้เซลล์ผิวเกิดการซ่อมแซมตัวเองได้เมื่อเซลล์เกิดความเสียหาย
การประเมินภาวะสุขภาพของผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่นโรคผิวหนัง
การตรวจร่างกาย
2.รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของรอยโรค
3.ตำแหน่ง และรูปแบบการกระจายของผื่น
1.ลักษณะของรอยโรคที่พบ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
5.Wood's lamp examination
7.การตรวจย้อมสีและเพาะเชื้อ
4.Tzank test
6.Nikolsky's sign
3.Potassium Hydroxide Examination (KOH)
8.Paring
2.Diascopy
Skin biopsy
1.Dermatographism
10.Patch testing
การซักประวัติ
1.ประวัติเกี่ยวกับอาการทางผิวหนัง
2.ประวัติทั่วไป
โรคผิวหนังจากเชื้อแบคทีเรีย
รูขุมขนอักเสบ (folliculitis)
มักติดเชื้อที่รูขุมขนชั้นตื้น (superficial folliculitis)
สาเหตุ
ส่วนใหญ่จากเชื้อ Staphylococcus aureus
อาจเกิดโดยตรงหรือมีสาเหตุเสริม
ต่อมไขมันอุดตัน
สุขอนามัยไม่ดี
ลักษณะทางคลินิก
เกิดตุ่มหนองขนาดเล็ก
ขนาด 1-2 mm.
เกิดเป็นกลุ่ม
พบขนตรงกลางตุ่ม
รอบรูขุมขนมีสีแดง
มักเกิดบริเวณ
หนังศีรษะ
ใบหน้า
ก้น
แขน
ขา
การวินิจฉัยโรค
ลักษณะทางคลินิก
การย้อมสีและเพาะเชื้อ
การวินิจฉัยแยกโรค
โรคแผลพุพองที่มีการติดเชื้อแทรกซ้อน
โรคผิวหนังจากเชื้อราแคนดิดาและ Malassezia furfur
การรักษา
รักษาเฉพาะที่
ทำความสะอาดผิวหนังด้วยสบู่หรือยาฆ่าเชื้อโรค
Chlorhexidine
Hexachlorophene
อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
เป็นไม่มากให้ทายาปฏิชีวนะ เช่น 2% mupirocin ointment
ให้ยาปฏิชีวนะรับประทาน
ให้ในรายที่เป็นรุนแรงหรือรักษาเฉพาะที่แล้วไม่ดีขึ้น
Cloxacillin
Erythromycin
ให้ benzoyl peroxide lotion หรือ gel ทาทุกวันในรายที่เป็นเรื้อรัง
ฝี (furuncle or boil)
ผิวหนังมีการติดเชื้อและอักเสบ
เกิด
บริเวณที่มีผมหรือขนมาก
ตำแหน่งที่มีเหงื่อออกมาก
ตำแหน่งที่เสียดสีบ่อย
พบบ่อยในเด็กโตหรือผู้ใหญ่
มักเกิดแผลเป็น
สาเหตุ
เชื้อ staphylococcus aureus
เหตุส่งเสริม
โรคอ้วน
โรคเบาหวาน
โรคขาดสารอาหาร
ภูมิต้านทานต่ำ
ลักษณะทางคลินิก
มีตุ่มหรือก้อนนูน
แข็ง
เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-5 cm.
ลึก
ผิวหนังแดง
มีอาการเจ็บ
กลางผิวหนังเกิดเนื้อตายและเป็นหนอง สะกิดออกมีหนองปนเลือดไหล
ฝีฝักบัว (carbuncles)
ขนาดใหญ่ เส้นผ่าศูนย์กลาง 3-10 cm.
เกิดจากการอักเสบของฝีหลายหัวรวมกันมีรูเปิดหลายรู
มีการอักเสบเนื้อเยื่อรอบๆ
มักพบในผู้ใหญ่โดยเฉพาะเพศชาย
การดำเนินโรคประมาณ 7-14 วัน
กลายเป็นหนอง
อาจปวดมาก
ไข้สูง
ปวดเมื่อยตามตัว
เม็ดเลือดขาวสูง
มีการติดเชื้อแบคทีเรียในกระแสเลือด
เกิดแผลเป็น
การวินิจฉัยโรค
ลักษณะทางคลินิก
การย้อมสีและเพาะเชื้อ
การวินิจฉัยแยกโรค
ก้อนเชื้อรา (mycetoma)
atypical mycobacterium infection
การรักษา
รักษาเฉพาะที่
ระยะแรกฝียังไม่นิ่มควรประคบด้วยน้ำอุ่น
ระยะฝีนิ่ม
เจาะหรือผ่าระบายหนอง
สอดผ้าก็อซที่พับเป็นเส้น (gauze drain) ชุบ NSS เพื่อระบายหนอง
ทำ wet dressing วันละ 2 ครั้ง
ตำแหน่งไม่ควรผ่าตัดด้วยวิธีรุนแรง อาจเกิดอันตราย
ควรเปิดหัวหนองแล้วให้หนองไหลออกเอง
ช่องหู
รูจมูก
กึ่งกลางใบหน้า
ให้ยาปฏิชีวนะ
Cloxacillin 20-49 mg. /kg./day
Erythromycin 30-50 mg./kg./day
Clindamycin 20-45 mg./kg./day
7-10 วัน
Ecthyma
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิดเดียวกับ nonbuolous impetigo
แต่รอยโรคลึกกว่า
ลึกลามไปยังผิวหนังชั้นใน ทำให้เกิดแผลเป็นภายหลัง
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อ group A streptococcus
ติดเชื้อ S.aureus ตามมาอย่างรวดเร็ว
ลักกษณะทางคลินิก
เกิดหลังแมลงกัดต่อยแล้วเกาจนผิวหนังถลอก
รับอุบัติเหตุเป็นแผลถลอก
เริ่มเป็นผื่นราบแดงขนาดเล็ก
ต่อมาเป็นตุ่มน้ำใสขนาดใหญ่และกลายเป็นหนอง
หนองแตก
แผลลึก
ขอบนูนแข็ง
รอบแผลอักเสบ
รอบแผลอักเสบบวมแดงฐานแผลมีสะเก็ดสีเหลืองเทา หรือหนองคลุมอยู่
มีอาการเจ็บแผล
ขนาดแผลอาจใหญ่ถึง 4 cm. และลึกขึ้นเรื่อยๆ
แผลหายแล้วจะเกิดแผลเป็น
พบบริเวณ
หน้าแข้ง
ขา
แขน
มักมีต่อมน้ำเหลืองบริเวณใกล้เคียงโตและเจ็บ
การวินิจฉัยโรค
ลักษณะทางคลินิก
การย้อมสีและเพาะเชื้อ
การวินิจฉัยแยกโรค
Anthrax
Cutenous diptheria
การรักษา
เช่นเดียวกับ impetigo
มักให้รับประทานยาปฏิชีวนะ
Cellulitis
ติดเชื้อตั้งแต่ผิวหนังชั้นนอก ชั้นใน จนถึงชั้นใต้ผิวหนัง
มักเกิดตามหลังอุบัติเหตุที่ทำให้ผิวหนังถลอก หรือมีบาดแผล
สาเหตุ
ส่วนใหญ่
Group A beta hemolytic streptococcus
Staphylococcus aureus
Streptococcus pneumoniae
เกิดตามหลังการติดเชื้อระบบหายใจลดลง
Hemophilus influenzae type b (Hib)
ฉีดวัคซีนป้องกัน
เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี
อาจเกิดการติดเชื้อบริเวณใบหน้า
เชื้อ hemophilus influenza
ทารกแรกเกิด
มักเกิดจากเชื้อ group B streptococci
ลักษณะทางคลินิก
เชื้อเข้าทางผิวหนัง
แผลถลอก
ถูกของแหลมตำ
ถูกแมลงกัด
ต่อมา 1-2 วันมีอาการ
ไข้สูง
ปวด
บวม
แดง
ร้อน
ขอบเขตผื่นไม่ชัดเจน
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณใกล้เคียงโต กดเจ็บ
การติดเชื้อที่ใบหน้า
มักเป็นข้างเดียว
ขอบเขตชัดเจน
ผื่นสีแดงเข้มจนถึงสีม่วง
เด็กมักเกิดอาการของการติดเชื้อในกระแสเลือด
อาจมีหูชั้นกลางอักเสบ
อาจเกิดการอักเสบที่ผิวหนัง
รอบกระบอกตา (periorbital cellulitis)
กระบอกตา (orbital cellulitis)
อาจลุกลาม
ฝีในสมอง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การวินิจฉัยโรค
ลักษณะทางคลินิก
ย้อมสีและเพาะเชื้อ การตัดชิ้นเนื้อ
การซักประวัติ
การวินิจฉัยแยกโรค
เยื่อบุตาอักเสบ (severe conjunctivitis)
กลุ่มโรคมะเร็ง
retinoblastoma
neuroblastoma
โรคผิวหนังอักเสบจากการสัมผัส (contact dermatitis)
ภาวะแทรกซ้อน
การติดเชื้อแบคทีเรียในเลือด (bacteremia)
กระดูกอักเสบ, ข้ออักเสบ
หลอดเลือดดำอักเสบ (thrombophebitis)
เยื่อบุหัวใจอักเสบ (endocarditis)
การรักษา
พิจารณา
ตำแหน่งที่เกิด
อายุ
ภูมิต้านทาน
รักษาเฉพาะที่
ประคบบริเวณที่อักเสบด้วยน้ำอุ่น
นอนพัก
ยกบริเวณที่มีการอักเสบให้อยู่สูง
ถ้ามีหนองให้ระบายหนองแล้วส่งย้อมสีแกรมและเพาะเชื้อ
เจาะ
ผ่า
ให้ยาปฏิชีวนะ
เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ควรให้ชนิดที่ครอบคลุม
Staphylococcus aureus
Streptococcus
Hib
S.pneumoniae
ตัวอย่างยาที่ให้
Ampicillin
Cloxacillin
Erythromycin
Amoxicillinclavulanic acid
Ceftriaxone
รายที่ไม่รุนแรง
อาการ
ไม่มีไข้
ต่อมน้ำเหลืองไม่โต
ตรวจนับเม็ดเลือดขาวได้น้อยกว่า 15,000 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร
ควรให้ยาปฏิชีวนะชนิดรับประทาน
ทารกแรกเกิดมักมีการติดเชื้อในกระแสเลือดร่วม
รายที่มีอาการรุนแรง
อาการ
มีไข้สูง
ซึม
กระสับกระส่าย
มีการอักเสบ
รอบตา
ใบหน้า
ควรรับไว้ในโรงพยาบาล
ให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ
โรคแผลพุพอง (impetigo)
nonbullous impetigo หรือ impetigo contagiosa
พบ 70% ของโรคแผลพุพองทั้งหมด
พบบ่อยในเด็กอายุ >2 ปี
ผิวหนังอาจ
ถูกกระแทก
แมลงกัด
รอยถลอก
เป็นโรคผิวหนังมาก่อน
สาเหตุ
เชื้อ Staphylococus aureus
group A beta - hemolytic streptococcus (GABHS)
ลักษณะทางคลินิก
เริ่มจากผื่นราบแดงขนาดเล็ก
ต่อมาเป็นตุ่มน้ำใสขนาดเล็ก
กลายเป็นตุ่มหนองอย่างรวดเร็ว
แตกง่าย
เห็นเป็นสะเก็ดแห้งหนาสีเหลืองปนน้ำตาล
สะเก็ดหลุดง่าย
เห็นผิวหนังแดงมีน้ำเหลืองเยิ้ม
อาจพบต่อมน้ำเหลืองบริเวณใกล้เคียงโต
มีเม็ดเลือดขาวในเลือดสูง
bullous impetigo
มักเกิดบนผิวหนังที่ปกติมาก่อน
พบบ่อยในทารกและเด็กเล็ก
สาเหตุ
ส่วนใหญ่ Staphylococus aureus phage group 2 type 71
ลักษณะทางคลินิก
เริ่มจากตุ่มน้ำใสเล็กๆ
ขยายเป็นตุ่มน้ำขนาดใหญ่
กลายเป็นหนอง
ผนังบาง ตึง แตกง่าย
เมื่อแตกเห็นผิวหนังสีแดงแฉะมีสะเก็ดสีน้ำตาลอ่อน
ตำแหน่งติดเชื้อได้บ่อย
ใบหน้า
ลำตัว
แขน
ขา
ทารกแรกเกิด มักเริ่มจากบริเวณที่ใส่ผ้าอ้อม
การวินิจฉัยโรค
ลักษณะทางคลินิก
การย้อมสีและเพาะเชื้อ
การวินิจฉัยแยกโรค
โรคเริม
โรค Ecthyma
โรคผิวหนังอักเสบจากการสัมผัส (Allergic contact dermatitis)
โรค Staphylococcal scalded skin syndrome (SSSS) ระยะแรก
การรักษา
พิจารณาจาก
อายุเด็ก
จำนวนรอยโรค
ตำแหน่งรอยโรค
รักษาเฉพาะที่
ทำความสะอาดผิวหนังด้วยสบู่หรือน้ำยาฆ่าเชื้อโรควันละ 2-3 ครั้ง
ทำ Wet dressing บริเวณที่มีน้ำเหลืองแห้ง
ด้วย NSS หรือน้ำสะอาดวันละ 2 ครั้ง
รายที่มีรอยโรคน้อย เด็กมีสุขภาพดี อาจใช้ยาทาหลังทำ Wet dressing
2% mupirocin ointment (bactroban)
bacitracin
fusidic acid (fucidin)
ให้ยาปฏิชีวนะชนิดรับประทาน
เลือกใช้ยาครอบคลุมเชื้อ Streptococus และ Staphylococcus aureus
ควรให้ในเด็กอายุต่ำกว่า 6 เดือน
มีรอยโรคใกล้ปากหรือลุกลามไปยังผิวหนังชั้นใน
ยาที่ใช้
Cloxacillin
Erythromycin
Amoxicillin
รวมกับ Clavulanic acid หรือกลุ่ม Cephalosorins
Cephalexin
Cefazolin
การป้องกัน
ส่งเสริมโภชนาการและอนามัยส่วนบุคคล
ล้างมือด้วยสบู่ที่มียาฆ่าเชื้อโรค
แนะนำให้ตัดเล็บให้สั้น
แยกผู้ป่วยอย่าให้คลุกคลีกับเด็กอื่นเพราะอาจติดต่อโดยการสัมผัส
รักษาความสะอาดของผิวหนัง เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่มและของใช้ส่วนตัว
ห้ามใช้เสื้อผ้า เครื่องใช้ ร่วมกัน
ถ้าพบเชื้อ Staphylococcus aureus ที่จมูก
ให้ทายา mupirocin วันละ 4 ครั้ง นาน 5 วัน
หลีกเลี่ยงการใช้ยากลุ่มคอร์ติโคสตีรอยด์
Staphylococcal Scalded skin Syndrome (SSSS)
สาเหตุ
เชื้อ staphylococcus aureus phage group 2 โดยเฉพาะ type 71
Epidermolytic toxin
Exfoliative exotoxin
A
B
ผ่านทางระบบไหลเวียน
เกิดโรคที่ผิวหนังชั้นนอก
ส่งผลต่อ keratinocytes
การยึดเกาะของผิวหนังเสีย
ลักษณะทางคลินิก
ระยะแรก
ไข้สูง
อ่อนเพลีย
ร้องกวน
ท็อกซิน
ผื่นราบสีแดง
รอบปาก
จมูก
ตา
เจ็บ
ผิวหนังสีแดงเข้ม
กระจายทั่วร่างกาย
เป็นมากบริเวณข้อพับ
1-2 วันต่อมา
ผื่นแดงกลายเป็นตุ่มน้ำ
ผนังบาง
แตกง่าย
ลอกเป็นแผ่น
สีขาวบาง
แฉะ
ผิวข้างใต้แดง
คล้ายถูกไฟไหม้หรือน้ำร้อนลวก
บริเวณซอกข้อพับ
รักแร้
คอ
ขาหนีบ
ตรวจโดย Nikolsky’s sigh ได้ผลบวก
3-5 วัน
ผื่นจะลอกหลุด
ผื่นค่อยๆแห้ง
ตกสะเก็ด
อาจเกิดรอยย่นแยกเป็นแฉก
รอบปาก
รอบตา
10-12 วัน
ผื่นหายเป็นปกติ
ไม่มีแผลเป็น
การวินิจฉัยโรค
ลักษณะทางคลินิก
ตรวจด้วยวิธี Nikosky’s sign ได้ผลบวก
การวินิจฉัยแยกโรค
โรค toxic epidermal necrolysisbจะมีตุ่มน้ำที่หนากว่าและแตกยากกว่า
โรคแผลพุพอง (bullous impetigo)
ภาวะแทรกซ้อน
Cellulitis
ภาวะเลือดเป็นพิษ
ปอดบวม
การรักษา
รักษาเฉพาะที่
จัดให้นอนบนผ้าปูที่นอน
สะอาด
ปลอดเชื้อ
ป้องกันการติดเชื้อแทรกซ้อน
ทำความสะอาดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อโรค
ระยะที่มีคราบน้ำเหลือง ทำ wet dressing
ระยะที่ผิวหนังลอกให้ทาครีมหรือวาสลินเพื่อป้องกันผิวหนังแห้ง
ให้ยาปฏิชีวนะ
ใช้ยาทำลายเชื้อ staphylococcus aureus
ทางหลอดเลือดดำโดยเฉพาะในเด็กแรกเกิด
Cloxacillin
Methicillin
รายที่ไม่รุนแรงอาจให้ยาปฏิชีวนะชนิดรับประทาน
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำในรายที่รับประทานอาหารไม่ได้
ให้ยาแก้ปวด โดยเฉพาะในระยะ 24 ชั่วโมงแรก
มาจากท็อกซินของเชื้อ staphylococcus aureus
อาจเกิดอาการอย่างรวดเร็ว
มักพบในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี โดยเฉพาะทารกแรกเกิด
เนื่องจากการทำงานของไตยังไม่สมบูรณ์เต็มที่
ไม่สามารถกำจัด exotoxin จากกระแสเลือดได้
เด็กเล็กยังไม่มีภูมิต้านทานต่อ exotoxin
โรคผิวหนังจากเชื้อไวรัส
โรคไวรัสที่ทำให้เกิดตุ่มนำ้ร่วมกับไข้ และอาการอื่นๆ
โรคเริม
โรคงูสวัด
โรคไวรัสที่ทำให้เกิดผื่นนนูนเฉพาะที่
หูด
หูดข้าวสุก
โรคผิวหนังจากเชื้อรา
โรคติอเชื้อราชนิด Candida ( Candidiasis )
โรคเกลื้อน (Tinea versicolor)
เกิดจากเชื้อรากลุ่มยีสต์
ภาวะร่างกายอ่อนแอ ภูมิต้านทานต่ำ เหงื่อออกมาก ดูแลความสะอาดไม่ดี
สาเหตุ
เชื้อ dimorphic yeast malassezia furfur
ลักษณะทางคลินิก
โรคกลาก (Dermatophytes)
เกิดจากเชื้อรากลุ่ม Dermatophyte
มักเกิดผิวหนังชั้นนอกสุด
แบ่งตามตำแหน่งที่เกิด
ศีรษะ (tinea capitis)
ศีรษะ เส้นผม คิ้ว ขนตา
พบบ่อยในเด็กอายุ 4-14 ปี
พบในเด็กผู้ชายมากกว่าเด็กผู้หญิง
ติดต่อโดยใช้ของใช้ส่วนตัวร่วมกัน
สาเหตุ
เชื้อรา trichophyton
เชื้อรา microsporum
ลักษณะทางคลินิก
ชนิดที่ไม่อักเสบ
เชื้อ microsporum
ผื่นนูนขนาดเล็กฐานของรูขุมขน
เชื้อลุกลามไปหลอดเลือดฝอย
ผื่นแดงเล็กๆรอบเส้นผม มีขุยรอบๆ
เส้นผมหักร่วงเป็นหย่อม (alopecia)
เชื้อ trichophyton
เส้นผมหักเป็นวง
เห็นจุดดำตรงที่ผมหัก เกิดจากเชื้อราแทรกเข้าในเส้นผม
ชนิดที่มีการอักเสบ
หนังศีรษะเป็นก้อนนูน บวม แดง เจ็บ
ตุ่มหนองเป็นวงกลม ขอบชัด ตรงกลางผมร่วง
หายแล้วจะเกิดแผลเป็น ไม่มีผมขึ้น
การวินิจฉัยโรค
ลักษณะทางคลินิก
ตรวจด้วย wood’s light
KOH examination
การเพาะเชื้อ
การวินิจฉัยแยกโรค
Seborrheic dermatitis
โรคสะเก็ดเงิน
โรคแผลพุพอง
Lupus erythematosus
การรักษา
ให้รับประทานยาฆ่าเชื้อรา
Griseofulvin microcrystalline
Itraconazole
Terbinafine
ใช้แชมพูที่มียาฆ่าเชื้อรา
ชนิดที่มีการอักเสบอาจพิจารณาให้ยาคอร์ติโตสตีรอยด์
ลำตัว (tinea corporis)
พบบ่อย
ในผู้ที่มีสุขอนามัยส่วนบุคคลไม่ดี
ภูมิต้านทานต่ำ
โรคเบาหวาน
ได้รับยาคอร์ติโคสตีรอยด์
สาเหตุ
เชื้อรา trichophyton
เชื้อรา microsporum
ลักษณะทางคลินิก
ผื่นวงกลมหรือรี ขอบชัด นูนแดง มีขุยขาวที่ขอบนอกกลางผื่นผิวหนัง
เป็นนานขอบขยายใหญ่ขึ้น คัน
ถ้าอักเสบมากจะมีตุ่มน้ำใสรอบขอบ เมื่อแตกจะเกิดสะเก็ด
หายเองใน 2-3 เดือน
การวินิจฉัยโรค
ลักษณะทางคลินิก
ตรวจด้วย wood’s lamp
KOH examination
การเพาะเชื้อ
การวินิจฉัยแยกโรค
โรคผิวหนังอักเสบจากการสัมผัส
Seborrheic dermatitis
การรักษา
ใช้ยาทา นิยมในรายที่รอยโรคไม่มาก
รับประทานยาต้านเชื้อรา รายท่ีเป็นบริเวณกว้างและหลายตำแหน่ง
ใบหน้า
ลักษณะผื่นและการรักษาเช่นเดียวกับโรคกลากที่ลำตัว
ขาหนีบ
เป็บขาหนีบทั้งสองข้าง แต่ไม่เป็นที่ scrotum หรือ penis
คันมาก
พบมากในวัยรุ่นเพศชาย
ลักษณะผื่นและการรักษาเช่นเดียวกับโรคกลากที่ลำตัว
โรคผิวหนังอักเสบ (Eczematous dermatitis)
ระยะเฉียบพลัน (acute eczema) จะพบผิวหนังมีลักษณะบวมแดง มีพื้นราบ ผื่นนูน และตุ่มน้ำใส ขนาดเล็ก รอยโรคต่างๆ อาจจะรวมกันเป็นกลุ่ม หรืออยู่กระจายกัน เมื่อตุ่มน้ำใสแตก จะมีน้ำเหลืองไหลเยิ้มบนผืน มักมีอาการคันร่วมด้วย
ระยะรองเฉียบพลัน (subacute eczema) ผื่นบวมแดงจะลดน้อยลง ผิวหนังหนาขึ้นเล็กน้อยน้ำเหลืองเริ่มแห้งกลายเป็นสะเก็ดและขุยเกาะอยู่บนผิว จะมีอาการคันเพิ่มมากขึ้น
3.ระยะเรื้อรัง (chronic eczema) ซึ่งเกิดอีกหลายสัปดาห์ต่อมาระยะนี้จะพบขุยมากขึ้น ผิวหนังจะหนาแข็งเห็นลายผิวหนังเป็นเส้นชัดเจนลักษณะเป็นร่อง (lichenification) มีอาการคันรุนแรงมาก ถ้าผู้ป่วยเกามากขึ้นจะทำให้ผิวหนังหนาขึ้นและมี lichenification เพิ่มมากขึ้น
การรักษาผิวหนังอักเสบ
ชนิดที่มีการติดเชื้อร่วมด้วยให้รักษาอาการอักเสบจากการติดเชื้อก่อน โดยการทำ wet dressing และให้รับประทานยาปฏิชีวนะ
การรักษาขึ้นกับระยะที่ตรวจพบ
2.1 ระยะเฉียบพลันมีน้ำเหลืองไหลเยิ้ม
-ทำ wet dressing ด้วยน้ำเกลือนอร์มัล 0. 9%
-เมื่อแผลเริ่มแห้งให้ใช้ยาทาคอร์ติโคสตีรอยด์ชนิต low potency ประเภทโลชั่นหรือครีม
-ให้ยา antihistamine ชนิดรับประทานเพื่อลดอาการคัน
2.2 ระยะรองเฉียบพลัน
-ให้ยาทาคอร์ติโคสตีรอยด์ชนิต low หรือ moderate potency ประเภทโลชั่นหรือครีมโดยทาเฉพาะบริเวณผืนเท่านั้นและไม่ควรใช้ติดต่อเป็นระยะเวลานาน
-ให้ยา antihistamine ชนิดรับประทานเพื่อลดอาการคัน
2.3 ระยะเรื้อรัง
-ให้ยาทาคอร์ติโคสตีรอยด์ชนิด moderate potency ประเภทครีมหรือออยเมนท์ (ointment) ถ้าผิวหนังหนามากอาจพิจารณาใช้ high potency หรือใช้ยาละลายขุยร่วมด้วย
-ให้ยา antihistamine ชนิดรับประทานเพื่อลดอาการคัน
หาสาเหตุและกำจัดต้นเหตุ