Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
images (1) (แนวทางในการทำงานเพื่อสังคมและท้องถิ่น (กรณีศึกษา:…
แนวทางในการทำงานเพื่อสังคมและท้องถิ่น
กรณีศึกษา: มหาวิชชาลัยปริกเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
สร้างหุ้นส่วนในการทำงาน
ยึดหลักคุณธรรม
5.พัฒนาผ่านปฏิบัติการจริง
โปร่งใสตรวจสอบได้
1.น้อมนำศาสตร์พระราชา
จิต มี 3 อย่าง
1.จิตสำนึก
2.จิตใต้สำนึก
จิตเหนือสำนึก
กฎแห่งจิต
1.คิดอยากมี
2.ได้อย่างไรไม่รู้
3.รู้ว่าต้องได้แน่นอน
กฎแห่งการคิด
1.ความคิดสำคัญที่สุด
2.ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกเกิดจากความคิด
3.คิดอย่างไรได้อย่างนั้น
4.ความคิดจึงเป็นที่มาของความสำเร็จของทั้งปวง
5.จัดตั้งพื้นที่ความคิดดีๆ
คุณลักษณะที่ดีของอาสาสมัคร
ประพฤติที่ซื่อตรง
มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และต่อสังคม
ไม่หวังรางวัล
รักความปรารถนาที่จะให้
พฤติกรรมหลักของอาสาสมัครทำงานเพื่อสังคม
ช่วยเหลือผู้อื่นโดยเข้าร่วมกิจกรรมบริการชุมชน
มุ่งมั่นพัฒนาใฝ่หาความรู้
ยอมเสียสละโดยใช้เวลาว่าง
การสร้างเครือข่ายและพลังสังคม
1.ต้องมีเหตุผลในการทำงานร่วมกัน
แหล่งข้อมูลเพิ่มมากขึ้น
แหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้มากขึ้น
ทำให้ทำงานได้ยืดหยุ่น
มีระบบหรือรูปแบบของการทำงานเครือข่าย
“รวมกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ
มีการติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยน ทำกิจกรรมร่วมกัน
. มีผลงานที่เพิ่มประสิทธิภาพ
มีลักษณะของการอยู่ร่วมในกลุ่ม
มีลักษณะของกระบวนการทำงานเครือข่าย
วิธีการทำงานแบบเครือข่าย
แบบกัลยาณมิตร
แลกเปลี่ยนเรียน
สำรวจพันธมิตร
ค่อยขยายวง
จัดเวทีคุยหารือ
รูปแบบกิจกรรมที่เป็นรูปธรรม
สื่อสารกันเองและสู่สาธารณะ
เครือข่ายที่เกิดจากผู้ผลิตกับลูกค้า
เครือข่ายมีการบริหารจัดการเป็นอิสระ
เครือข่ายมีเกิดขึ้นแล้วเลิกไป
การติดต่อเครือข่ายมีกฎกติกามารยาท
เครือข่ายขนาดใหญ่จะทำให้ยั่งยืน
รวมกลุ่มสนใจ
“ Community of Practice”
รวมกลุ่มหน่วยงาน “Networked Organization”
รวมกลุ่มทางอินเตอร์เน็ตไม่เห็นตัวกัน“Virtual Community”
การให้คำปรึกษา
หน้าที่ครู
เป็นผู้ฟังที่ดี
แสดงความเป็นกันเอง
มีการทบทวนความเข้าใจ
เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ซักถาม
ลักษณะของ
ผู้ให้คำปรึกษาที่ดี
ไม่แฝงความอยากครอบงำ
มีความอบอุ่นจริงใจ
ยอมรับผู้มาปรึกษาอย่าง
ไม่มีเงื่อนไข
ความเข้าใจผู้มาปรึกษาอย่างลึกซึ้ง
มองปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม
กระบวนการให้คำปรึกษา
การสำรวจปัญหา
การเข้าใจปัญหา
การวางแผนแก้ไขปัญหา
การยุติการให้คำปรึกษา
การติดตามผล
จรรยาบรรณในการให้คำปรึกษา
รักษาเป็นความลับ
รู้ข้อจำกัดของตนเองในการให้คำปรึกษา
ไม่พยายามยัดเยียดความเชื่อทางศาสนา ปรัชญา ชีวิต วิถีชีวิต การเมือง
ต้องคอยทบทวนสถานการณ์เสมอว่า “การให้คำปรึกษานี้เพื่อใคร?”
การทำงานเพื่อสังคม ท้องถิ่นและโรงเรียน