Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จริยธรรมและการพัฒนาจริยธรรมสำหรับวิชาชีพครู (2.2 การสร้างเสริมและกำกับคุณธ…
จริยธรรมและการพัฒนาจริยธรรมสำหรับวิชาชีพครู
2.1 หลักการ ขั้นตอนของการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม
โสคราตีส (socrates) คุณธรรมทำให้คนเป็นมนุษย์ มี 5 ประการ
ปัญญา/ความรู้
การปฏิบัติหน้าที่ทางศาสนา
ความกล้าหาญ
การควบคุมตนเอง
ยุติธรรม
อริสโตเติล (Aristotle) คุณธรรมมี 2 ประเภท
คุณธรรมทางสติปัญญา (ทฤษฎี+ปฏิบัติ)
คุณธรรมทางศีลธรรม เน้นมิตรภาพ+รู้จัก+ประมาณ+กล้าหาญ+ยุติธรรม
เพลโต (Plato) คุณธรรมเกิดขึ้นจากความรู้
ปัญญา/ความรู้
การรู้จักประมาณ ควบคุมตนเอง
กล้าหาญ
ยุติธรรม (ไม่เน้นการปฏิบัติทางศาสนา)
หลักการพัฒนาจริยธรรม
วินัย จริยธรรม จรรยาบรรณ วิชาชีพและสมรรถนะด้านคุณธรรมจริยธรรมไม่สามารถแยกออกจากกันต้องทำควบคู่กันไป
การเสริมสร้างจริยธรรม
การกำหนดนโยบายให้ข้าราชการมีวินัย ต้องทำให้ครบ 3 กระบวนการ
ให้ความรู้
สร้างจิตสำนึก
ถือปฏิบัติให้เน้นเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต
สถานราชการควรมียุทธศาสตร์โครงการ และ กิจกรรมที่ชัดเจน
สรุป : การพัมนาให้มีจริยธรรม จรรยาบรรณและคุณค่าอย่างยั่งยืน
1.ต้องรู้ว่าทำอะไรดั อะไรชั่ว
สร้างความตระหนัก รู้บาป บุญ คุณ โทษ
ไปดูแบบอย่าง เพื่อรู้จักและสร้างคุณค่า
รวมกันเป็นกลุ่ม มีข้อตกลงที่จะทำร่วมกัน
มีการชื่นชม ยกย่องว่าทำดี
ให้โอกาสได้แสดงผลงาน
ได้รับเกรียติ รางวัลจนเป็นอุดมการณ์
2.2 การสร้างเสริมและกำกับคุณธรรมจริยธรรมในระบบราชการ
หลักความเสมอภาค
เปิดโอกาสให้ทุกคนได้รับสิทธิที่เท่าเทียมกัน มีความเสมอภาค
หลักความสามารถ
ให้ความสำคัญในเรื่องของความรู้ ความสามารถ เพื่อค้นหาคนที่เหมาะสมที่สุด
หลักความมั่นคง
สร้างความเชื่อมั่นให้กับบุคคลที่มีความประพฤติดี ซื่อสัตย์ ป้องกันให้ถูกกลั่นแกล้ง
หลักความเป็นกลางทางการเมือง
เป็นกลางยึดหลักไม่ฝักฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ไม่เอนเอียง
มาตรา 88 ต้องสามัคคี ให้ความเป็นธรรม การกลั่นแกล้ง ข่มเห่งผู้เรียน ผิดวินัยอย่างร้ายแรง
แนวทางการลงโทษทาวินัย
ลงโทษต้องดำเนินกระบวนการตามกฎหมาย
ผู้สังคมโทษต้องเป็นผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจ
การสั่งลงโทษจะมีผลบังคับใช้ได้ ต้องเมื่อข้าราชการผู้นั้นข้าราชการผู้นั้นยังมีสภาเป้นข้าราชการอยู่
หากตายก่อนถูกกล่าวหาไปต้องดำเนินการทางวินัย
2.3 จริยธรรมวิชาชีพและการฝ่าฝืน
เป้าหมายของการมีจริยธรรมวิชาชีพ
ปกป้องผลประโยชน์ของสาธารณะชน
เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ
จรรยาบรรณนั้นจะเขียนเป็นลายลักาณ์อักษรหรือไม่ก็ได้
ความสำคัญของจริยะรรมในการประกอบอาชีพ
ช่วยให้ใช้วิชาชีพในทางที่ถูกต้องเหมาะสม
ส่งเสริมให้มีความสำนึกในหน้าที่และมีความรับผิดชอบ
ช่วยควบคุมการปฏิบัติงานให้มีคุณภาพ
ช่วยป้องกันไม่เอารัดเอาเปรียบผู้บริโภค
ช่วยให้วงการวิชาชีพมีความซื่อสัตย์ ยุติธรรม
ประสิทธิภาพของจรรยาบรรณวิชาชีพ
ช่วยเกลื้อกูลและป้องกันคนในวิชาชีพ
ต้องมีกฎข้อบังคับหรือหลักปฏิบัติที่เจาะจง
ต้องมีคณะกรรมการควบคุมจรรยาบรรณเพื่อสอดส่องความประพฤติ
ต้องมีการลงโทษผู้ที่ฝ่าฝืนจรรยาบรรณให้ปรากฎ
ปัญหาของการฝ่าฝืนจริยธรรมวิชาชีพของตัวผู้ประกอบวิชาชีพ
ขาดการปลูกฝั่ง ค่านิยม ความรู้ ในการศึกษาเรื่องจริยธรรมวิชาชีพการมีมาตรฐานการเรียนการสอนที่ต่ำและน้อยเกินไป
2.ปัญหาของการบริหารงานบุคคลในองค์กร คือ ต้นตอของการฝ่าฝืน
ให้ความสำคัญกับ วัตถุ เงิน อำนาจ มากกว่า การรักษาคุณค่าจริยธรรมในวิชาชีพ
ปัญหาเรื่องการขาดต้นแบบด้านจริยธรรมวิชาชีพ
ควรนำการตรวจสอบประวัติและความประพฤติย้อนหลัง
2.4 การป้องกันและพัฒนาจริยธรรมวิชาชีพให้ใช้ไปในทางที่ดี
หลักปฏิบัติเชิงจริยธรรม 7 ข้อ
1.ความไม่เห็นแก่ตัว
2.ความเป็นอันหนึ่งของ
3.กรณีมีจุดมุ่งหมายที่มีหลักการและคุณธรรม
รับผิดชอบต่อการตัดสินใจที่ตนได้กระทำ
5.เปิดเผยการกระทำ
6.ซื่อสัตย์
7.ความเป็นผู้นำ
วิธีการสร้างและพัมนาจริยธรรมในการประกอบอาชีพ
การอบรมตามหลักของศาสนา
การปลูกฝังพฤติกรรมที่พึงประสงค์
การสอนให้รู้จักความเมตตาต่อผู้อื่น
การสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์
การใช้อิทธิพลของกลุ่มให้เกิดความคล้อยตาม
การใช้หลักมนุษย์สัมพันธ์
การจัดการสิ่งแวดล้อมและประสบการณ์ในทางที่ดี
จริยธรรมสำหรับวิชาชีพครู
1.ครูต้องมีความขยันมั่นเพียร
2.ครูต้องมีวินัย
3.ครูต้องรู้จักปรับปรุงตนเอง
4.ครูต้องให้ความช่วยเหลือผู้อื่น
5.ครูต้องบำเพ็ญประโยชน์เพื่อชุมชน
6.ครูต้องเสียสละเพื่อสาธารณะประโยชน์
7.ครูต้องรู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
8.ครูต้องมีความกตัญญูกตเวที
9.ครูต้องไม่ประมาท
10.ครูต้องปฏิบัติต่อผู้อาวุโสในทางที่ดี
11.ครูต้องมีสัจจะและแสดงความจริงใจ
12.ครูต้องมีความเมตตากรุณา
13.ครูต้องมีความอดทน อดกลั้น
14.ครูต้องมีความซื่อสัตย์
15.ครูต้องมีระเบียบวินัย และตรงต่อเวลา
16.ครูต้องมีการให้อภัย
17.ครุต้องประหยัดและอดออม
18.ครูต้องเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
19.ครูต้องมีความรับผิดชอบ
20.ครูต้องจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์