Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความหมายความสำคัญประเภทและองค์ประกอบของคุณธรรมจริยธรรม (1.7…
ความหมายความสำคัญประเภทและองค์ประกอบของคุณธรรมจริยธรรม
1.1 ความหมายของคุณธรรมจริยธรรม
ศีลธรรม (Moral)
ศีลกับธรรม คือ หลักปฏิบัติทางศาสนาที่บุคคลพึงปฏิบัติเพื่อพัมนาคุณภาพชีวิตให้ประกอบด้วยคุณธรรม
อุดมการณ์
อุดมคติของชีวิต
ความควรไม่ควรของพฤติกรรม
จริยธรรมวิชาชีพ (Ethice)
กฎเกณฑ์แห่งความประพฤติหรือหลักความจริงที่เป็นแนวทาง แห่งความประพฤติปฏิบัติ
จรรยาหมายถึงความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติในหมู่คณะ
จรรยาบรรณ หมายถึง ความประพฤติผู้ประกอบอาชีพ
คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณความดี
มโนธรรม หมายถึง ความรู้สึกผิดชอบชั่วดี
แนวคิดด้านจริยธรรม
ประกอบด้วยคุณธรรม
หลายประการ
ความรับผิดชอบ (Accountability)
ความซื่อสัตย์ (Honesty)
ความมีเหตุผล (Rationality)
ความกตัญญูกตเวที (Gratitude)
ความมีระเบียบวินัย (Disciplined)
ความเสียสละ (Sacrifice)
การประหยัด (Thrifty)
ความอุตสาหะ (Diligence)
ความสามัคคี (Harmony)
ความเมตตาและกรุณา (Loving Kindness and Compassion)
ความยุติธรรม (Justice)
ประมวลจริยธรรมข้าราชการ 10 ประการ
ต้องยึดมั่นในจริยธรรม
ต้องมีจิตสำนึกที่ดี
ต้องยกเรื่องส่วนตัว
ต้องละเว้นจากการแสวงหาผลประโยชน์
ต้องเคารพและปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ
ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเที่ยงธรรม
ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
ต้องมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
9.ต้องยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ต้องเป็นแบบอย่างที่ดี
คุณธรรม (virtue)
ความดีงามในจิตใจที่ทำให้บุคคลประพฤติดี
ผู้มีคุณธรรมเป็นผู้มีการประพฤติดีด้วยความรู้สึกในทางดีงาม
คุณธรรมเป็นสิ่งตรงข้ามกับกิเลสผู้มีคุณธรรมจึงเป็นผู้ไม่มากด้วยกิเลส
คุณธรรมตามแนวคิดของ คริสโตเติล
ความรอบคอบ
ความกล้าหาญ
การรู้จักประมาณ
ความยุติธรรม
สรุปกลุ่มคำ คุณธรรมจริยธรรม 14 คำ
คุณธรรม - การอันพึงทำ
ศีลธรรม - การอันพึงเว้น
จริยธรรม - เลือกสิ่งที่ถูก หลีกเลี่ยงสิ่งที่ผิด
ธรรมภิบาล - สัญญา กฎ กติกา ที่ร่วมกันทำ
จรรยาบรรณ - ประมวลกฎเกณฑ์ความประพฤติ
วินัย - แบบแผนความประพฤติ
ระบบคุณธรรม - กติกาความเป็นธรรม
มารยาท - ความประพฤติอันพึงประสงค์
กติกา - หลักเกณฑ์เงื่อนไข
กฎ - ข้อกำหนดใช้บังคับ
บรรทัดฐาน - กฎและกติกาของสังคมที่กำหนด
จรรยาบรรณวิชาชีพ - ข้อกำหนดของกลุ่มวิชาชีพ
ประมวลจริยธรรม - คำตักเตือน
จริยธรรมวิชาชีพ - ความสำนึกที่ดีงาม
1.2 ความสำคัญของคุณธรรมและจริยธรรม 3 ระดับ
ระดับการดำรงชีวิตของบุคคล ทำให้บุคคลได้กำหนดพฤติกรรมของตนเองเพื่อทำให้เกิดความสุข
ระดับสังคม การได้รับการยอมรับต้องอาศัยคุณธรรมและจริยธรรมเพื่อรักษาไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและส่งเสริมชื่อเสียง
ระดับประเทศและโลก เป็นหลักธรรมที่คุ้มครองโลกให้อยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข
1.5 วินัยของข้าราชการครูตามพรบ. ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547
และที่แก้ไขพ.ศ.2551 และพ.ศ.2553
การปฏิบัติงานรวมทั้งการไม่ฝ่าฝืนตาม มาตรา 82-94
1.4 องค์ประกอบทางจริยธรรม
องค์ประกอบทางปัญญา - ความรู้ ความจำ ความเข้าใจ นำไปใช้ วิเคราะห์ ประเมิน
องค์ประกอบทางอารมณ์ - ขั้นรับรู้ ขั้นตอบสนอง ขั้นเห็นคุณค่า ขั้นจัดภาพ ขั้นกิจนิสัย
องค์ประกอบทางพฤติกรรม
ภายใน เช่น ความรู้ ความคิด สติปัญญา
ภายนอก เช่น การอบรม สภาพแวดล้อมทางครอบครัว
1.3 จริยธรรมแบ่งตามยุคสมัยเป็น 5 ประเภท
คุณธรรมของสมัยโบราณ - คุณธรรมของอริสโตเติล,คุณธรรมแบบโรมันปรัชญาจีน
ประเพณีทางศาสนา - ศาสนาคริสต์,อิสลาม,ฮินดู,พุทธ
3.มุมมองของนัดปรัชญา - เบนจามิน แฟรงคลัน,ชักมุนด์ ฟรอยด์
คุณธรรมตามกลุ่มบุคคล - ค่านิยมซามูไร,คาวบอย,อินเดียแดง
5.คุณธรรมตามจิตวิทยาสมัยใหม่ - เศรษฐกิจพอเพียง,ระบบนายทุน,แบบสังคม
1.6 วินัยของพนักงานราชการระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย พนักงานราชการ พ.ศ. 2547
หมวด 4 วินัยและการรักษาวินัย (ข้อ 22 - 27)
1.7 ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการคุ้มครอง การทำงานของครูใหญ่ของดรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2542
ทุจริตต่อหน้าที่
ได้รับความเสียหาย
ประมาทเลินเล่อ
ฝ่าฝืนระเบียบว่าด้วยจรรยา
ฝ่าฝืนระเบียบของโรงเรียน
ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลา 7 วันติดต่อกัน
ได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษา