Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนา นิสัย จิตสำนึก และค่านิยม ในวิชาชีพครู :<3:…
การพัฒนา นิสัย จิตสำนึก และค่านิยม ในวิชาชีพครู :<3:
การสร้างนิสัย จิตสำนึก และค่านิยม
นิสัย (Habit) ความประพฤติที่เคยชิน เช่น ทําจนเป็นนิสัย
ค่านิยม (Popularity, Value) สิ่งที่บุคคลหรือสังคมยึดถือเป็นเครื่องช่วยตัดสินใจ
จิตสำนึก
จิตสำนึกที่ดี เป็นการตัดสินใจได้ในระยะเวลาที่เหมาะสม ทันเหตุการณ์
คำนึงถึงความถูกต้องดีงาม แยกแยะดีชั่วได้
คำนึงถึงผลกระทบที่จะติดตามมา
ปัจจัยที่มี
อิทธิพลค่านิยม
ปัจจัยภายใน
ความจำเป็น ความต้องการ และแรงจูงใจ
การรับรู้
การเรียนรู้/ประสบการณ์
บุคลิกภาพ
ปัจจัยภายนอก
ทางสังคมและวัฒนธรรม
ทางเศรษฐกิจ
ทางการเมือง
เปรียบเทียบนิสัยและค่านิยมคนชาติต่างๆ กับคนไทย
จีน
ประหยัด มัธยัสถ์
เก่งด้านการค้าขาย
โหวกเหวก โวยวาย ขากน้ำลายบ่อย
ญี่ปุ่น
สุภาพเรียบร้อย นิ่มนวล
สูงมาก ชาตินิยม มีระเบียบวินัยในตนเองสูง
อินเดีย
ชอบกินอาหารเผ็ดร้อน
เจรจาการค้าได้เก่ง มีความอดทน
เยอรมัน
มีนิสัยตรงไปตรงมา จริงใจ
รอบคอบในการใช้เงินสูงมากๆ
สวิสเซอร์แลนด์
สันโดษ รักอิสระ
เจ้าระเบียบ ทุกอย่างต้องเป็นระบบ
อังกฤษ
ตระหนี่ ประหยัด มัธยัสถ์
ฟอร์มผู้ดีสุดๆ ซีเรียส จริงจังกับชีวิต
อเมริกัน
รักอิสระเหนืออื่นใด
มีความรับผิดชอบสูง
สวีเดน
รักครอบครัวรักพวกพ้อง
ดูแลญาติมิตร
ฝรั่งเศส
พิถีพิถันในการแต่งตัวเป็นที่สุด
ครอบครัวต้องมาก่อนเป็นอันดับแรก
ไทย
กินอาหารทุกอย่างที่อร่อย
เจ้าชู้ ขี้เกียจ รักสบายเกินไป
หน้า เชื่อคนง่าย เลือกเชื่อในสิ่งที่อยากฟัง
ค่านิยมสำคัญต่อ
วิชาชีพครู
การสร้างความศรัทธา
กรรมศรัทธา เชื่อกรรม
วิบากศรัทธา เชื่อผลแห่งกรรม
กรรมสกตาศรัทธา เชื่อว่าสัตว์มีกรรมมีเป็นของตน
ตถาคตโพธิศรัทธา เชื่อการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
คุณค่าของความเป็นครู
การเห็นความสำคัญ
ให้ค่าของสิ่งนั้น
มองจากภายนอกเข้าสู่ภายใน