Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Assessment (การประเมินสุขภาพชุมชน) (เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล…
Assessment (การประเมินสุขภาพชุมชน)
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.ขั้นเตรียมการ
เตรียมชุมชน
กำหนดวัตถุประสงค์การเก็บรวบรวมข้อมูล
สร้างเครื่องมือในการเก็บข้อมูล
เตรียมผู้เก็บข้อมูล
ระบแหล่งข้อมูล
เตรียมงบประมาณ
2.ขั้นลงมือเก็บข้อมูล
กำหนดวัน เวลา และสถานที่
ลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูล
การบันทึกข้อมูล
สามารถแบ่งวิธีเก็บข้อมูลคร่าวๆได้ดังนี้
แบบสอบถาม(ใช้มากที่สุด เหมาะกับคนอ่านออกเขียนได้)
คำถามปลายปิด
คำถามปลายเปิด
การสัมภาษณ์
มีโครงสร้าง
ไม่มีโครงสร้าง
การสังเกต
มีส่วนร่วม
ผู้สังเกตเข้าไปกลมกลืนอยู่กับผู้สังเกต
ไม่มีส่วนร่วม
ผู้สังเกตแยกตัวออกมาสังเกตอยู่ห่างๆ
การเดินสำรวจ
ควรมีแบบสำรวจความจำเป็นขั้นพื้นฐานและแฟ้มสุขภาพครอบครัวด้วย
ค้นคว้าเอกสาร
ตรวจร่างกาย
สอบถามจากบุคลากรในชุมชน
การสนทนากลุ่ม
การถ่ายรูป
อุปกรณ์ที่ต้องเตรียม
เครื่องชั่ง นน.
แผนที่ชุมชน
เครื่องวัดBP
กล้องถ่ายรูป
อุปกรณ์ตรวจทางห้องปฎิบัติการ
เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
แผนที่เดินดิน
เป็นเครื่องมือที่ทำให้เห็นภาพรวมของชุมชน ลักษณะภูมิประเทศ
ผังเครือญาติ
ทำให้เข้าใจความสัมพันธ์กันของคนชุมชนและเข้าใจปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์เชิงเครือญาติ
โครงสร้างองค์กรชุมชน
ทำให้เข้าใจ บทบาท อำนาจหน้าที่และความสัมพันธ์หน่วยต่างๆในชุมชน
เป็นทางการ
เช่น อสม. องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่เป็นทางการ
กลุ่มแม่บ้าน จิตอาสา
ระบบสุขภาพชุมชน
ระบบการแพทย์แผนปัจจุบัน
เช่น รพสต. คลินิกแพทย์
ระบบการแพทย์แผนพื้นบ้าน
เช่น ผีฟ้า หมอสู่ขวัญ
ระบบการแพทย์ภาคประชาชน
เช่น อสม. ผู้ดูแลในครอบครัว
ประวัติศาสตร์ชุมชน
การศึกษาเรื่องราวความเป็นมาของชุวชนในด้านต่างๆเช่นเศรฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
ประวัติชีวิต
เป็นการสร้างสัมพันธภาพและมุมมองมิติของความเป็นมนุษย์
ปฏิทินชุมชน
ทำให้เข้าใจคความเคลื่อนไหวของประชาชนตลอดทั้งปี มีประโยชน์ต่อการวางแผน
การวิเคราะห์ข้อมูล
การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
ความครบถ้วนของข้อมูล
ความถูกต้องและความสอดคล้องของข้อมูล
การแยกประเภทของข้อมูล
ลักษณะทั่วไป
ข้อมูลด้านสุขภาพอนามัย
ข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับการเกิดโรค
ข้อมูลเกี่ยวกับระบบข้อมูลสุขภาพ
การแจกแจงข้อมูล
ข้อมูลที่เป็นตัวเลข
ข้อมูลที่ไม่เป็นตัวเลข
การหาข้อสรุปเกี่ยวกับลักษณะต่างๆของข้อมูล
การแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูล
วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
ข้อมูลเชิงปริมาณ
ข้อมูลที่สามารถวัดค่าได้ว่ามีค่ามากหรือน้อยซึ่งสามารถวัดค่าออกมาเป็นตัวเลขได้เช่น อายุ ประชากรเพศชาย จำนวนการเจ็บป่วย ฯลฯ
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
ข้อมูลที่ไม่สามารถบอกได้ว่า มีค่ามากหรือน้อย แต่จะสามารถบอกได้ว่าดีหรือไม่ดี เช่น ลักษณะสิ่งแวดล้อมชุมชน ประวัติศาสตร์ชุมชน ฯลฯ
การนำเสนอการวิเคราะห์ข้อมูล
แบบตาราง
แบบแผนภูมิ
Histogram
แผนภูมิแท่ง
Pie chart
แบบกึ่งตาราง
แบบปิรามิด
แบบบทความ
แบบกราฟเส้น