Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมาย (แหล่งที่มาของฎหมาย (Source of Law) (รูปแบบของกฎหมายที่ศาลจะนำมา …
กฎหมาย
แหล่งที่มาของฎหมาย
(Source of Law)
รูปแบบของกฎหมายที่ศาลจะนำมา
ปรับใช้แก่คดีที่เกิดขึ้น
ประเทศไทยใช้ระบบ Civil Law ยึดถือ กฎหมายลายลักษณ์อักษร
1. กฎหมายลายลักษณ์อักษร
รัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติ
พระราชกำหนด
ประมวลกฎหมาย
พระราชกฤษฎีกา
กฎกระทรวง
2. จารีตประเพณี
ปฏิบัติติดต่อกันมาเป็นเวลานาน
และสม่ำเสมอจนกลายเป็น
ทางปฏิบัติ
ประชาชนยอมรับปฏิบัติเป็น
สิ่งถูกต้อง
เมื่อไม่มีกฎหมายลายลักษณ์อักษร
ที่จะนำมาปรับแก่คดีได้ จะต้องใช้
จาริตประเพณี
3. หลักกฎหมายทั่วไป
หลักกฎหมายที่ศาลนำมาปรับแก่คดี
โดยค้นหาจากแหล่ง เมื่อไม่มีบัญญัติในกฎหมายลายลักษณ์อักษร
และจารีตประเพณี
สุภาษิตกฎหมาย เช่น ผู้ซื้อต้องระวัง,
ในระหว่างผู้สุจริตด้วยกันผู้ประมาทเลินเล่อ
ย่อมเป็นผู้เสียเปรียบ,
การพิเคราะห์ตัวบทกฎหมายหลายๆ
มาตราที่บัญญัติสำหรับข้อเท็จจริง
ที่คล้ายคลึงกัน
4. หลักกฎหมาย
ต่างประเทศ
หลักกฎหมายทั่วไป
ที่ศาลอาจค้นพบได้
จากการเทียบเคียง
หลักกฎหมาย
ต่างประเทศ
ซึ่งได้รับการยอมรับ
ลำดับศักดิ์กฎหมาย
(Hierarchy of Law)
ลำดับที่ 1
รัฐธรรมนูญ
ลำดับที่ 2
พรบ ประกอบรัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติ
พระราชกำหนด
ประมวลกฎหมาย
ลำดับที่ 3
พระราชกฤษฎีกา
ลำดับที่ 4
กฎกระทรวง
ลำดับที่ 5
กฎหมายองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น
ลำดับที่ 1
คกก ร่างรัฐธรรมนูญ
และตราขึ้นโดย King
ลำดับที่ 2
พรบ ประกอบฯ
King ตราขึ้นโดยคำแนะนำ
จาก รัฐสภา
พรบ
King ตราขึ้น โดยคำแนะนำจากรัฐสภา
พรก
เป็นกฎหมายบริหารบัญญัติ เนื่องจากจำเป็นเร่งด่วน เสนอรัฐสภาภายหลัง ถ้าไม่เห็นชอบก็เป็นอันตกไป King ตราขึ้นตามคำแนะนำและยินยอมจาก ครม
ประมวลกฎหมาย
ต้องมี พรบ ให้ใช้ประมวลกฎหมายได้
ลำดับ 3
King ตราขึ้นโดยคำแนะนำ ครม
ลำดับ 4
ตราขึ้นโดย รมว โดยความเห็น ครม
ลำดับ 5
ตราขึ้นโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ความสำคัญ
กฎหมายลำดับต่ำกว่าออก
โดยอำนาจกฎหมายที่สูงกว่า
กฎหมายต่ำกว่าจะมีเนื้อหา
เกินขอบเขตกฎหมายลำดับสูงกว่า
ที่ใช้ออกกฎหมายไม่ได้
กฎหมายลำดับต่ำกว่าจะออกกฎ
ขัดแย้งกับกฎหมายลำดับสูงกว่า
ไม่ได้ ไม่ว่าจะออกก่อนหรือหลัง
การแก้ไขหรือยกเลิกกฎหมายใดๆ
ต้องทำโดยตรากฎหมายลำดับ
เท่ากับ หรือ สูงกว่า
การตีความกฎหมาย
(Legal Interpretation)
การค้นหาความหมายของถ้อยคำในกฎหมาย
ที่ไม่ชัดเจน เคลือบคลุม มีข้อสงสัย
ความหมายหลายนัย เพื่อให้ทราบถึงความหมาย
ของถ้อยคำในตัวกฎหมายว่ามีความหมายอย่างไร
หลักในการตีความ
ตีตามตัวอักษร
ตีความตามเจตนารมณ์
การอุดช่องวางของกฎหมาย
(Gap of Law)
วีธีการค้นหากฎหมายมาใช้
แก่กรณีที่ไม่มีกฎหมายลายลักษณ์อักษร
จะนำไปปรับใช้แก่ข้อเท็จจริง
หลักในการอุดช่องว่าง
ไม่มีกฎหมายลายลักษณ์อักษร วินิจฉัยโดย
จารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น
ไม่จารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น วินิจฉัยโดย
เที่ยบเคียงบทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง
3.ไม่มีบทกฎหมายใกล้เคียง วินิจฉัยโดย
หลักกฎหมายทั่วไป
วันเริ่มและสิ้นสุด
การใช้กฎหมาย
วันเริ่มใช้
ตั้งแต่วันประกาศ
ในราชกิจจาฯ
ตั้งแต่วันถัดจาก
วันประกาศในราชกิจจาฯ
ตั้งแต่วันใดวันหนึ่ง
ในอนาคตหลักจากประกาศ
ในราชกิจจาฯ
วันสิ้นสุด
1. ยกเลิกกฎหมายโดยตรง
กำหนดวันยกเลิกกฎหมายไว้
ระบุยกเลิกกฎหมายเก่าไว้ชัดแจ้ง
2. ยกเลิกกฎหมายโดยปริยาย
ข้อความในกฎหมายใหม่ไม่เหมือน
หรือขัดแย่งกฎหมายเก่า ถือว่า
กฎหมายใหม่ยกเลิกกฎหมายเก่า
3. ยกเลิกกฎหมายแม่บท
กฎหมายลูก
ที่ออกโดยอาศัยอำนาจกฎหมายแม่บท
ถูกยกเลิกโดยปริยาย