Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวางแผนแก้ปัญหาสุขภาพชุมชน (ความสำคัญของการวางแผน (เพิ่มประสิทธิภาพของกา…
การวางแผนแก้ปัญหาสุขภาพชุมชน
ความหมาย
การที่บุคคลหรือกลุ่มบุคคลเข้าร่วมในกระบวนการตัดสินใจในการกำหนดสิ่งที่จะนำมา ใช้ในการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน โดยระบุวัตถุประสงค์ กิจกรรม ทรัพยากร ผู้รับผิดชอบ และการประเมินผล
รายละเอียดของแผน (Plan)
3) เป้าหมาย คือ สิ่งที่บอกว่าจะทำเท่าใด ให้เกิดคุณภาพอย่างไร
2) นโยบาย คือ แนวทางการดำเนินงาน
4) วงเงิน คือ การ งบประมาณที่ใช้
5) มาตรการหรือกลยุทธ์ คือ สิ่งที่บอกถึงวิธีการที่จะทำให้บรรลุวัตถุประสงค์
1) วัตถุประสงค์ คือ การระบุถึงผลที่ต้องการให้บรรลุ
ประเภทของแผน
แบ่งตามสถานที่
แผนระดับภาค
แผนระดับจังหวัด
แผนระดับชาติ
แผนระดับอําเภอ
แผนระดับตําบล
แบ่งตามสายงาน
แผนระดับกองหรือแผนระดับฝ่าย
แผนระดับกรมหรือสำนักงานหรือองค์การ
แผนระดับกระทรวง
แผนระดับชาติ
แบ่งตามระยะเวลา
แผนระยะกลาง
ระยะเวลาระหว่าง 3 - 5 ปี
แผนระยะยาว
ระยะเวลาเกิน 5 ปี
แผนระยะสั้น
ปฏิบัติการประมาณไม่เกิน 2 ปี
แบ่งตามหลักเศรษฐศาสตร์
แผนมหภาค (Macro Plan)
แผนรายสาขา (Sectoral Plan)
แบ่งตามเหตุการณ์
แผนป้องกันน้ำท่วม
แผนป้องกันอัคคีภัยแผนป้องกันอุบัติเหตุ
การวางแผนดำเนินงานของพยาบาลชุมชน
องค์ประกอบของการเขียนแผนงานย่อยหรือโครงการ
วัตถุประสงค์
วิธีดำเนินการ
หลักการและเหตุผล
ระยะเวลาในการดำเนินงานโครงการ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
งบประมาณและทรัพยากรที่ต้องใช้
ส่วนราชการเจ้าของโครงการ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
ประเภทของโครงการ
การประเมินผลโครงการ
ชื่อโครงการ
ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
3 การวางแผนงานย่อยหรือโครงการ (Sub Plan)
จะช่วยให้แผนปฏิบัติการในการแก้ปัญหามีความละเอียดมากขึ้น
จะต้องมีการกำหนดเป้าหมายในการดำเนินกิจกรรม (Goal)หากพยาบาลชุมชนวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุของปัญหาได้อย่างละเอียดแล้ว จะทราบถึงความสามารถในการแก้ปัญหาว่ามากน้อยเพียงใด แล้วนำไปตั้งเป้าหมาย
2 การวางแผนแม่บท (Master Plan)
ขั้นที่ 1 A = Appreciate
การทำให้ทุกคนยอมรับและชื่นชมคนอื่นโดยไม่รู้สึกต่อต้านหรือวิพากษ์วิจารณ์ ในขั้นตอนนี้ทุกคนจะมีโอกาสแสดงออกอย่างทัดเทียมกัน โดยอาจแสดง
ขั้นที่ 3 C = Control
การนา Plan) อย่างละเอียดว่าจะทำอะไร มีหลักการเหตุผล ใครเป็นผู้ต้องให้ความร่วมมือ รวมถึงงบประมาณและจะได้ผู้รับผิดชอบหลัก ผู้รับผิดชอบรองในแต่ละเรื่อง (Commitment) เพื่อควบคุมกำกับ (Control) ให้เกิดการปฏิบัติ หรือบรรลุอุดมการณ์ร่วมกัน
ขั้นที่ 2 I = Influence
การใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ที่แต่ละคนมีอยู่ ในการกำหนดวิธีการสำคัญ หรือ ยุทธศาสตร์ (Strategy) ที่จะทำให้บรรลุอุดมการณ์ร่วม
การจัดทำแผนเพื่อดำเนินงานสุขภาพในชุมชน
ช่วยกำหนดขอบเขตและบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ของบุคลากรในทีมงาน สุขภาพให้เป็นไปอย่างเหมาะสม
ช่วยควบคุมการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ช่วยควบคุมการดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และอยู่ในระยะเวลาที่กำหนด
ช่วยควบคุมการดำเนินงานแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน ให้เป็นไปอย่างมีระบบ ระเบียบและมีความต่อเนื่อง
ช่วยในการประสานการทำงาน ในการแก้ไขปัญหาระหว่างทีมงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ช่วยกำหนดทิศทางการทำงาน ได้แก่ การกำหนดวัตถุประสงค์ กลวิธี และกิจกรรมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน
ความสำคัญของการวางแผน
เพิ่มประสิทธิภาพของการทำงาน
ทราบว่าจะมุ่งไปในทางใด ช่วยให้งานดำเนินไปอย่างรวดเร็ว
การบริหารงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
เข้าใจวัตถุประสงค์ขององค์การได้ดีขึ้น
ป้องกันการทำงานแบบเดาชุ่ม
ช่วยให้เกิดการทำงานเป็นกลุ่ม
เป็นเครื่องมือในการประสานงานที่ดี