Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรักษาเบื้องต้น เรื่องระบบทางเดินหายใจ (ไม่ไอ (Dyspnea (วินิจฉัย…
การรักษาเบื้องต้น เรื่องระบบทางเดินหายใจ
ไอ
ไอเรื้องรัง
ความหมาย
ไอเรื้อรังมีระยะเวลาของอาการไอมากกว่า 3 สัปดาห์ ถึง 8 สัปดาห์
ภูมิแพ้
IgE Mediated Reaction เกิดอาการแพ้เฉียบพลันทันทีที่ได้รับสารก่อภูมิแพ้เข้าสู่ร่างกาย
Non IgE Mediated Reaction ค่อย ๆ เกิดอาการภายหลังได้รับสารก่อภูมิแพ้ประมาณ 4 ชั่วโมง หรือนานกว่านั้น
ประเภท
ภูมิแพ้อากาศ
เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจเป็นหลัก
เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจเป็นหลัก
ภูมิแพ้ผิวหนัง มีอาการคัน มีผื่นแดง มีรอยนูนแดง หรือตุ่มบวมอักเสบ
ภูมิแพ้อาหาร
เกิดขึ้นกับระบบหายใจและระบบทางเดินอาหาร
เช่น ไอ จาม น้ำตาไหล คัดจมูก มีอาการบวมแดงหรือคันบริเวณปาก ลิ้น ลำคอ หน้าซีด ใจสั่น ชีพจรเต้นเร็ว รู้สึกอ่อนล้า หายใจลำบาก
ภูมิแพ้ตา มีอาการคันหรือระคายเคืองบริเวณดวงตา แสบตา ตาแดง ตาบวม เปลือกตาอักเสบบวม มีน้ำตาไหล
รักษา พยาบาล
ยาต้านฮิสตามีน (Antihistamine)
ยาอะดรีนาลีน (Adrenaline)
ยาแก้คัดจมูก (Decongestants)
ภูมิคุ้มกันบำบัด (Immunotherapy) ฉีดสารก่อภูมิแพ้เข้าไปปริมาณเล็กน้อย
สาเหตุ
การที่มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในหลอดลม /สัมผัสกับสารระคายเคืองในสิ่งแวดล้อม เช่นควันบุหรี่ ควันไฟ กลิ่นสเปรย์ แก๊ส มลพิษทางอากาศ
เกิดจากการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนบน เช่น หวัด โพรงไซนัสอักเสบฉับพลัน คอหรือกล่องเสียงอักเสบ หลอดลมอักเสบ อาการกำเริบของโรคถุงลมโป่งพอง ปอดอักเสบ
ภาวะแทรกซ้อน
Anaphylaxis
โรคหอบหืด
ไซนัสอักเสบ
ไอเฉียบพลัน
ความหมาย
ไอเฉียบพลันมีระยะเวลาของอาการไอน้อยกว่า 3 สัปดาห์
สาเหตุ
รับประทานยารักษาความดันโลหิตสูงชนิด ACEI เป็นระยะเวลานาน
โรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้หรือโรคไซนัสอักเสบเรื้อรังแล้วมีน้ำมูกไหลลงคอ
เกิดจากโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง
จากโรคหืด โรคกรดไหลย้อน วัณโรคปอด
เนื้องอกบริเวณคอ กล่องเสียงหรือหลอดลม
โรคของสมองส่วนที่ควบคุมการไอ
ไอกรน (Pertussis)
เชื้อแบคทีเรียบอร์เดเทลลา เพอร์ทัสซิส
อาการ
ช่วงแรกจะมีอาการคล้ายเป็นหวัด เช่น ไอ มีไข้ น้ำมูกไหล
หลังจากนั้นผู้ป่วยจะมีอาการไอต่อเนื่องอย่างรุนแรงและมีเสียงไอที่เป็นเอกลักษณ์หรือเสียงดัง วู้ป (ไอมีเสียงที่เกิดจากการหายใจลำบาก) จึงมีอีกชื่อเรียกว่า Whooping Cough
อ่อนเพลียจากการไออย่างรุนแรง นอกจากนี้อาจอาเจียนหลังจากที่มีการไอติดต่อกัน และอาจมีเสมหะปนออกมา
อาจมีหลอดเลือดดำที่คอโป่งพองจนมองเห็นได้ ตาถลน และตัวเขียว
โรคติดต่อในระบบทางเดินหายใจ(ไอหรือจาม)
ส่วนมากเกิดในเด้ก
ป้องกันด้วยการฉีดวัคซีน
การรักษา&พยาบาล
รับประทานยาปฏิชีวนะ เช่น Erythromycin , Azithromycin
นอนหลับพักผ่อน
ยาแก้ไอ
ดื่มน้ำมาก ๆ ทั้งน้ำเปล่า น้ำผลไม้
หวัด
อาการ
ไข้ (Fever) ตัวร้อน
ปวดกล้ามเนื้อ มีแสบตา เสียงแหบ และอาจมีไข้ได้ แต่เป็นไข้ไม่สูง
จาม มีน้ำมูกใสไหล คอแห้ง
ภาวะแทรกซ้อน
หลอดลมอักเสบ ปอดอักเสบ
ทอนซิลอักเสบ ไซนัสอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ
เด็กเล็กอาจทำให้มีอาการชักจากไข้สูง
เสียงแหบ
Upper respiratory tract infection
รักษา พยาบาล
ดื่มน้ำสะอาด อย่างน้อยวันละ 8 แก้ว
ทำให้ร่างกายอบอุ่น
พักผ่อน
รับประทานอาหารอ่อน
ควรรีบไปพบแพทย์เมื่อมีไข้สูงและไข้ไม่ลดลงภายใน 1-3 วัน
ติดต่อทาง Droplet transmission
ไม่ไอ
Dyspnea
วินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
ลักษณะและอัตราการหายใจ
ภาวะซีด ภาวะเขียว
บวม
BP
Lab
chest X-Rays
ตรวจสมรรถภาพปอด
Blood gas
ซักประวัติ
สูบบุหรี่
อาชีพ
พันธุกรรม
อาการ
ขณะไม่ออกแรง=หายใจเหนื่อย
ออกแรง = หายใจเหนื่อยมากขึ้น
อาการเหนื่อยสัมพันธ์กับโรคเช่น หัวใจวาย ปอดรั่ว มีสิ่งอุดกั้น
รักษา พยาบาล
ให้ O2
รักษาตามสาเหตุ
monitoring O2 sat
Asthma
การรักษาพยาบาล
ยา Beta2 agonist
Venttoline
terbutaline
ยา anticholinergic
Ipratropium bromide
ให้ O2
ยาcorticosteroid
วัด O2 กับRR และฟังเสียง Wheezing
Dysapnea
ไซนัส
อาการ
ปวดบริเวณข้างจมูกหรือใบหน้า
การได้รับกลิ่นลดลง
กลืนอาหารลำบาก
หายใจไม่สะดวก
การรักษาและการพยาบาล
ยาลดบวม 2 ชนิดคือ ยาต้านการอักเสบ และยาหดหลอดเลือด
ยาต้านฮิสตามีน
ยาปฏิชีวนะ ได้แก่ ยา Penicillin และยา Tetracycline
ยาละลายมูก
การผ่าตัด
การล้างไซนัส
การล้างไซนัสด้วยเครื่องดูดเสมหะ (สำหรับเด็ก)
แพทย์จะทำการเจาะผนังไซนัสในช่องจมูก
การล้างจมุูกด้วยnomal saline ใช้syringe
วินิจฉัย
ซักประวัติผู้ป่วยตามอาการ
ตรวจร่างกาย
โพรงจมูก
กดลงบนใบหน้า ตามจุดไซนัส
ช่องปาก
ตรวจพิเศษ
ตรวจ Sinuscopy
อัลตราซาวด์
เจาะไซนัส
MRI