Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจระบบกล้ามเนื้อและกระดูก (ข้อ (การตรวจข้อ (ประเมินการเคลื่อนไหวของข้…
การตรวจระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
กระดูก
การตรวจกระดูกและข้อ
เทคนิคการดูและการคลำ
สังเกต
การขยับเคลื่อนไหว "เน้นกระดูกสันหลังและกระดูกรยางค์"
ตำแหน่งที่บวม กดเจ็บ
การยืน
การนั่ง
การลุก
การเดิน
โครงสร้างร่างกาย
ความผิดรูป
ความเท่ากัน สั้น/ยาว
ขนาด รูปร่าง
การตรวจกระดูกสันหลัง
ภาวะผิดปกติของกระดูกสันหลัง
ตำแหน่งบวม กดเจ็บ
ท่าเดิน ท่านั่ง ท่ายืนผิดปกติ
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
กระดูกสันหลังส่วนอกโค้งผิดปกติ หลังค่อม (Kyphosis)
กระดูกสันหลังส่วนเอวเว้าผิดปกติ หลังแอ่น (Lordosis)
กระดูกสันหลังยุบ หลังโก่งเป็นมุม (Gibbus)
ข้อ
การตรวจข้อ
ขนาด รูปร่าง
ความผิดปกติ
ตรวจทุกข้อตั้งแต่คอ กระดูกสันหลัง แขนขา
ตำแหน่งบวม กดเจ็บ
คลำหาเสียงเสียดสีในข้อ (Crepitus/cracking sound)
อุณหภูุมิผิวหนังรอบข้อ
ประเมินการเคลื่อนไหวของข้อ (Range of Motion : ROM)
วัดขอบเขตการเคลื่อนไหว : วางมือบนข้อ ขยับข้อนั้นๆและสังเกตการเปลี่ยนแปลงเสียงและความรู้สึกจากมือที่คลำ
การตรวจน้ำในข้อ (Ballotment)
เอามือไล่น้ำจากส่วนเหนือหัวเข่า ไล่มากองด้านล่างเอามือดันค้างไว้ ใช้นิ้วชี้หรือนิ้วกลางของอีกมือหนึ่ง เคาะและกดที่บริเวณ pattella หากพบคลื่นน้ำหรือการบวมแสดงว่ามีน้ำในข้อ
ภาวะผิดปกติของข้อ
มีตำแหน่งบวมแดง กดเจ็บ
มีน้ำในข้อ มีการหดรั้งของข้อ
คลำหรือขยับได้ยินเสียงผิดปกติ
ข้อมีขนาดไม่เท่ากัน
ขอบเขตการเคลื่อนไหวของข้อผิดปกติ กล้ามเนื้อรอบข้อเล็กลีบ
กล้ามเนื้อ
การตรวจกล้ามเนื้อ
ขนาดของกล้ามเนื้อ (Muscle size)
ขนาดของกล้ามเนื้อผิดปกติ
ขนาดไม่เท่ากัน
กล้ามเนื้อฝ่อลีบ (Atrophy)
กล้ามเนื้อมีขนาดใหญ่ (Hypertrophy)
กล้ามเนื้อเต้น กระตุก สั่น
พบตำแหน่งกดเจ็บ พบก้อน
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (Muscle tone)
ความตึงตัวผิดปกติ
ตึงตัวมากกว่าปกติ (Hypertonia)
ตึงตัวน้อยกว่าปกติ (Hypotonia)
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Spastictity)
กล้ามเนื้อแข็งเกร็งตลอดเวลา (Rigidity)
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก (Flaccid)
กำลังของกล้ามเนื้อ (Muscle power)
ตรวจกล้ามเนื้อต่างๆที่ใช้ในกิจวัตรประจำวัน โดยใช้ท่าต่างๆ ในการประเมินกำลังของกล้ามเนื้อ
งอ (Flexion)
เหยียด (Extension)
กาง (Abduction)
หุบ (Adduction)
หมุน (Rotation)
คว่ำ (Pronation)
หงาย (Supination)
กำ (Hand grip)
การวัดระดับกำลังของกล้ามเนื้อ (Motor Power) แบ่งเป็น Grade 0-5
Grade 0 : ไม่มีการเคลื่อนไหว
Grade 1 : เคลื่อนไหวได้เพียงพอมองเห็น
พบการหดตัวของกล้ามเนื้อ
Grade 2 : เคลื่อนไหวได้เพียงแนวราบ
ไม่สามารถต้านแรงโน้มถ่วงโลก
Grade 3 : เคลื่อนไหวต้านแรงโน้มถ่วงโลกได้
แต่ต้านแรงผู้ตรวจไม่ได้
Grade 4 : ต้านแรงผู้ตรวจได้แต่ไม่เต็มที่
Grade 5 : ต้านแรงผู้ตรวจได้เต็มที่ปกติ
ขอบเขตการเคลื่อนไหวของข้อ (Range of Motion ROM)
การตรวจทิศทางตามขอบเขตการเคลื่อนไหวของแต่ละข้อ มีการวัดมุมองศา
การตรวจในผู้ที่มีปัญหาการเคลื่อนไหวของข้อ
Active ROM
ผู้ใช้บริการเคลื่อนไหวข้อด้วยตนเอง
Passive ROM
ผู้ตรวจทำให้ข้อเคลื่อนไหว